การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู สาขาพลศึกษา

Main Article Content

กมลฉัตร กล่อมอิ่ม

Abstract

         การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมาธิเพื่อเตรียมความพร้อม  โดยการทำสมาธิ เล่าเรื่อง ออกกำลังกาย เล่นเกม  เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติจริง  สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยการร่วมคิดร่วมทำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกฝนความสามารถหรือทักษะที่จำเป็น ซึ่งมีขั้นตอนดำเนินการดังนี้ 1) การเตรียมความพร้อม (Set up) 2) การเชื่อมโยงความรู้เดิม (Tie-in) 3) การกระตุ้นเร้า (Engage) 4) การปฏิบัติ (Perform) 5) การนำความรู้ไปใช้ (Use) 6) การสรุปบทเรียน (Pack) โดยครูจะใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปตามสังคมปัจจุบันและความก้าวหน้าในศตวรรษที่ 21 ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี เพราะว่าการฝึกประสบการณ์ให้กับนักศึกษาวิชาชีพครูสาขาพลศึกษา สามารถนำความรู้ไปจัดการเรียนการสอนโดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิจารณญาณ,ทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการคิดสร้างสรรค์ให้กับนักเรียนต่อไป.

 

          The brain-based learning emphasized  to concentrate the student for preparing such as concentrating,story-telling,exercising and play game.Therefore,these activities influence to their opportunity to operate in real-situation.As a result,they can build their knowledge by co-operative learning.Thus,the learners can be practiced their abilities and skills.In addition, the procedures have six steps as follows : 1) preparing (Set up) 2) background knowledge Linking (Tie-in) 3) stimulating (Engage) 4) oprating (Perform) 5) knowledge adapting (use) 6) summarizing (Pack).According to teachers will encourage the learners to their learning by using problems.These steps can stimulate student who have skills,competences with accordant needs in current social change in the 21th century.Thus,the learners have knowledge skills,Cognitive skills,interpersonal skills,numberical analysis thinking skills,responsibility,communication and technology.Indeed,the practicing experience to teacher students of physical education are able to adapt knowledge for their learning management by using the brain-based learning to improve their thinking skills such as judgment,solving problem,and creativity to them in the future.

Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ