การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต

Main Article Content

พิสิษฐ์ ณัฎประเสริฐ
กัมปนาท บริบูรณ์
สุมาลี สังข์ศรี

Abstract

           การวิจัยนี้เพื่อ 1.ศึกษาสภาพปัญหาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น 2.ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ด้วยการวิจัยแบบเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง 22พิพิธภัณฑ์ และการสนทนากลุ่มด้วยการคัดเลือกแบบเจาะจง 4 พิพิธภัณฑ์แนวทางปฏิบัติที่ดี ผู้นำชุมชน สถาบันการศึกษา เยาวชน ปราชญ์ชาวบ้านและประชาชนชุมชน ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูล เพื่อหาแนวทางในการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
            ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น การบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต พบว่า ประกอบด้วย เวทีเสวนา 4 พิพิธภัณฑ์ พบว่าแนวทางการบริหารจัดการได้ 4 มิติ ประกอบด้วย 18 องค์ประกอบ มิติที่ 1)การบริหารจัดการด้านโครงสร้างและแผนงาน องค์ประกอบด้วย 1.จุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ พันธกิจ ของการดำเนินงานพิพิธภัณฑ์ 2.โครงสร้างการบริหาร 3.แผนในการดำเนินกิจกรรมรายปี มิติที่ 2)การจัดการด้านการมีส่วนร่วม องค์ประกอบด้วย 1. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน2.การมีส่วนร่วมของสถาบันการศึกษา 3.เครือข่ายภายในและภายนอก 4. ผู้นำทำกิจกรรมในท้องถิ่น มิติที่ 3) การบริหารจัดการด้านทรัพยากร องค์ประกอบด้วย 1.การบริหารจัดการงานบุคลากร 2.การบริหารจัดการงานงบประมาณ 3.การจัดการด้านทรัพยากรวัตถุ ทรัพยากรโบราณสถาน การดูแลรักษา 4.การจัดแสดง นิทรรศการ 5.สถานที่ ตัวอาคารพิพิธภัณฑ์ 6.สื่อ วัสดุเทคโนโลยี มิติที่ 4)การบริหารจัดการด้านการบริการ องค์ประกอบด้วย 1.กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ 2. บริการป้ายและนิทรรศการถาวรเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ 3.บริการนำชม เส้นทางการนำชมในชุมชน 4.การประชาสัมพันธ์ 5.การจำหน่ายของที่ระลึกอาหารและเครื่องดื่ม


               This research is Mixed Methods Research, aims 1. Study local museum issues. 2. Study local museum management practices. With quantitative and qualitative research Using the questionnaire with 22 samples, museums and group discussion with 4 specific selections, museums, good practices, community leaders, youth academics, philosophers, villagers and people in the community. Use content analysis. To find ways to develop a local museum management model to promote lifelong learning.

               The research findings showed that : Management guidelines for local museums. The management of local museums to promote life-long learning found that the four museums found that four-dimensional management approaches consisted of 18 elements, 1) structural and project management. Element with 1. Purpose, Mission Objectives of Museum Operations 2. Management Structure 3. Plan for Yearly Activities, 2nd Dimension), Participatory Management Elements 1. The participation of people in the community. 2. Institutional involvement 3. Internal and external networks museums. 4. Local leaders. 3) Resource management. Element with 1. Personnel Management 2. Budget Management 3. Object Resource Management Archaeological Resources 4. Exhibitions 5. Places Museum Buildings 6. Media Materials Technology Dimension 4) Service Management Element with 1. Learning activities. 2. Signage and permanent exhibition services to promote learning. 3. Sightseeing services in the community. 4. Public Relations 5. Sale of food and drink souveni


Article Details

Section
บทความ : มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ