Submissions

Login or Register to make a submission.

Submission Preparation Checklist

As part of the submission process, authors are required to check off their submission's compliance with all of the following items, and submissions may be returned to authors that do not adhere to these guidelines.
  • The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
  • The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, or RTF document file format.
  • Where available, URLs for the references have been provided.
  • The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
  • The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines.

Author Guidelines

คำแนะนำสำหรับผู้เขียน
    วารสารสมาคมศัลยศาสตร์ทั่วไปยินดีรับบทความวิชาการหรือรายงานผลการวิจัยที่เกี่ยวกับด้านศัลยศาสตร์ โดยเรื่องที่ส่งมาจะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรือกำลังรอพิมพ์ในวารสารอื่น ทั้งนี้ทางกองบรรณาธิการตรวจทานแก้ไขเรื่องต้นฉบับและพิจารณาตีพิมพ์ตามลำดับก่อนหลัง

 

หลักเกณฑ์และคำแนะนำสำหรับส่งเรื่องลงพิมพ์

1. บทความที่ส่งลงพิมพ์
     - นิพนธ์ต้นฉบับ การเขียนเป็นบทหรือตอนตามลำดับดังนี้  “บทคัดย่อ บทนำ วัสดุและวิธีการศึกษา ผลการศึกษาวิจารณ์ กิตติกรรมประกาศ เอกสารอ้างอิง” ความยาวของเรื่องไม่เกิน 10 หน้าพิมพ์ 

     - รายงานผลการศึกษา ประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ ปฏิบัติงาน วิธีการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน วิจารณ์ กิตติกรรมประกาศ เอกสารอ้างอิง

     - บทความพื้นวิชาควรเป็นบทความที่ให้ความรู้ รวบรวม  สิ่งที่ตรวจพบใหม่ หรือเรื่องที่หน้าสนใจ ผู้อ่านสามารถนำไปประยุกต์ได้

     - บทความวิเคราะห์สถานการณ์โรคต่างๆ ประกอบ ด้วยบทคัดย่อ บทนำความรู้ หรือข้อมูล เกี่ยวกับเรื่องที่นำมาเขียน วิจารณ์ หรือวิเคราะห์สรุป ควรมีเอกสารอ้างอิงที่ค่อนข้างทันสมัย


2.การเตรียมบทความเพื่อลงพิมพ์
   ชื่อเรื่อง ควรสั้นกะทัดรัด ให้ได้ใจความที่ครอบคลุม และตรงกับวัตถุประสงค์และเนื้อหาเรื่อง ชื่อเรื่องต้องมีภาษไทยและภาษาอังกฤษ ชื่อผู้เขียน ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ(ไม่ใช้คำย่อ) พร้อมทั้งอภิไธยต่อท้ายชื่อและสถาบัน ที่ทำงานอยู่ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เนื้อเรื่อง ควรใช้ภาษาไทยให้ได้มากที่สุด และ ภาษาที่เข้าใจง่าย สั้นกะทัดรัด และชัดเจนเพื่อประหยัดเวลาของผู้อ่าน หากใช้คำย่อต้องเขียนคำเต็มไว้ครั้งแรก บทคัดย่อ คือการย่อเนื้อหาสำคัญ เฉพาะที่จำเป็น เท่านั้นระบุตัวเลขทางสถิติที่สำคัญ
ใช้ภาษารัดกุมเป็นประโยคสมบูรณ์และเป็นร้อยแก้วความยาวไม่เกิน 15 บรรทัด และมีส่วนประกอบคือ วัตถุ ประสงค์ วัสดุและวิธีการศึกษา ผลการศึกษาและวิจารณ์หรือข้อเสนอแนะ(อย่างย่อ)ไม่ต้องมีเชิงอรรถอ้างอิงบทคัดย่อต้องเขียนทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ วัสดุและ อธิบายวิธีการดำเนินการวิจัยกล่าวถึง วิธีการศึกษา แหล่งที่มาของข้อมูล วิธีการรวบรวมข้อมูล วิธีการเลือกสุ่มตัวอย่างและกาใช้  เครื่องมือช่วยในการวิจัย ตลอดจนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลหรือใช้หลักสถิติมา ประยุกต์ ผลการศึกษา อธิบายสิ่งที่ได้พบจากการวิจัย โดยเสนอหลักฐานและข้อมูลอย่างเป็นระเบียบพร้อมทั้งแปลความหมายของผลที่ค้นพบ หรือวิเคราะห์ วิจารณ์ ควรเขียนอภิปรายผลการวิจัยว่าเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่เพียงใด และควรอ้างอิงทฤษฎีหรือผลการดำเนินงานของผู้ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย สรุป (ถ้ามี) ควรเขียนสรุปเกี่ยวกับการวิจัย (สรุปให้ตรงประเด็น) และข้อเสนอแนะที่อาจนำผลงานการวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือให้ ข้อเสนอแนะประเด็นปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้สำหรับการวิจัยครั้งต่อไป

เอกสารอ้างอิง

1) ผู้เขียนต้องรับผิดชอบในความถูกต้องของเอกสารอ้างอิง การอ้างอิงเอกสารใช้ระบบ Vancouver 

2) การอ้างอิงเอกสารใดให้ใช้เครื่องหมาย เชิงอรรถเป็นหมายเลขโดยใช้หมายเลข 1
3) เอกสารอ้างอิงหากเป็นวารสารภาษา อังกฤษให้ใช้ชื่อย่อวารสารตามหนังสือ Index Medicus การใช้เอกสารอ้างอิงไม่ถูกแบบจะทำให้เรื่องส่งมาเกิดความล่าช้าในกาพิมพ์ เพราะต้องมีการติดต่อ ผู้เขียนเพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติมให้ครบตาม หลักเกณฑ์


3. รูปแบบการเขียนวารสาร ใช้ตัวอักษร Angsana New ขนาด 16 Fonts
(โปรดสังเกตเครื่องหมายวรรคตอนในทุกตัวอย่าง)
3.1 การอ้างเอกสาร
ก. ภาษาอังกฤษ
ลำดับที่.ชื่อผู้แต่ง (สกุล อักษรย่อของชื่อ).ชื่อ เรื่อง ชื่อวารสาร ปี ค.ศ.; ปีที่พิมพ์ (volume): หน้าแรก-หน้าสุดท้าย.
ในกรณีที่ผู้แต่งเกิน 6 คน ให้ใส่ชื่อผู้แต่ง 6 คนแรก แล้วตามด้วย et al.
ตัวอย่าง
1. Fischl MA, Dickinson GM, Scott GB. Evaluation of
Heterosexual patners, children and household
contracts of Adults with AIDS.JAMA 1987; 257: 640-4.
ข. ภาษาไทย
ใช้เช่นเดียวกับภาษาอังกฤษ แต่ชื่อผู้แต่งให้เขียนเต็ม ตามด้วยนามสกล และใช้ชื่อวารสารเป็นตัวเต็ม
ตัวอย่าง
2. ธุระ รามสูต, นิวัติ มนตรีสุวัติ, สุรศักดิ์ สัมปัตตะนิช, อุบัติการณ์โรคเรื้อนระยะแรก โดยการศึกษาจุลพยาธิวิทยาคลินิกจากวงด่างขาวของผิวผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคเรื้อน 589 ราย.วารสารโรคตดตอ 2527;10: 101-2
3.2 การอ้างอิงหนังสือหรือตำรา
ก. การอ้างอิงหนังสือหรืตำรา
ลำดับที่. ชื่อผู้แต่ง(สกุล อักษรย่อของชื่อ). ชื่อหนังสือ. เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์ ; ปีที่พิมพ์.

ตัวอย่าง
1. Toman K.Tuberculosis case-finding and chemo-
therapy.Geneva: Wold Health Organization; 1979.
ข. การอ้างอิงบทที่หนึ่งในหนังสือตำรา
ลำดับที่.ชื่อผู้เขียน.ชื่อเรื่อง.ใน;(ชื่อบรรณาธิการ), บรรณาธิการ. ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์. เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์; ปีที่พิมพ์. หน้าแรก-หน้าสุดท้าย. ตัวอย่าง
2. ศรชัย หลูอารีย์สวรรณ.การดื้อยาของเชื้อมาลาเรีย.ใน:ศรชัย หลูอารีย์สวรรณ, ดนัย บุนนาค, ตระหนักจิต หะริณสูต, บรรณาธิการ, ตำราอายุรศาสตร์เขตร้อน.พิมพ์ครั้งที่ 1. กรงเทพมหานคร: รวมทรรศน์ ; 2533. น.115-20
โปรดศึกษารายละเอียดได้จากบทความเรื่อง การเขียนเอกสารอ้างอิงในวารสารทางวิชาการโดยใช้ระบบ แวนคูเวอร์ในวารสารโรคติดต่อปีที่ 24 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2541) หน้า 465 - 472.


4. การส่งต้นฉบับ
4.1 การส่งเรื่องตีพิมพ์ให้ส่งต้นฉบับ 1 ชุด พร้อมelectronic file ถึง สมาคมศัลยศาสตร์ทั่วไป ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพฯ 11000 หรือ electronic files อย่างเดียวทาง website
4.2 หากส่งเอกสารฉบับจริงกรุณาใช้กระดาษพิมพ์ดีดขนาด A4 พิมพ์หน้าเดียวและ ส่งเอกสารมาพร้อมกับแผ่น electronic file ซึ่งพิมพ์ต้นฉบับ พร้อมระบุชื่อ File และระบุบที่ใช้ MS Word
4.3 ภาพประกอบถ้าเป็นภาพลายเส้นต้องเขียนด้วยหมึกดำบนกระดาษหน้ามันถ้าเป็นภาพถ่ายควรเป็นภาพ สไลด์ หรืออาจใช้ภาพขาวดำขนาดโปสการ์ดแทนก็ได้ การเขียนคำอธิบายให้เขียนแยกต่างหาก อย่าเขียนลงในรูป


5. การรับเรื่องต้นฉบับ
5.1 เรื่องที่รับไว้กองบรรณาธิการจะแจ้งตอบรับให้ ผู้เขียนทราบทาง Email
5.2 เรื่องที่ไม่ได้รับพิจารณาลงพิมพ์กองบรรณาธิการ จะแจ้งให้ทราบ แต่จะไม่ส่งต้นฉบับคืน
5.3 เรื่องที่ได้รับพิจารณาลงพิมพ์กองบรรณาธิการ จะส่งสำเนาพิมพ์ให้ผู้เขียน หรอสามารถ download ได้จาก website


ความรับผิดชอบ
บทความที่ลงพิมพ์ในวารสารสมาคมศัลยศาสตร์ทั่วไปถือว่าเป็นผลงานทางวิชาการหรือการวิจัยและวิเคราะห์ตลอดจน เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของสมาคมศัลยศาสตร์ทั่วไปหรือกองบรรณาธิการแต่ประการใด ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตน

 

Original research (research article)

original research (empirical) article based on an experiment or study. This type of article will have a methodology section that tells how the experiment was set up and conducted, a results or discussion section, and usually a conclusion section. In psychology courses, you are often asked to find empirical articles. Empirical articles are original research articles.

Review article (literature review or systematic review)

Review article (literature review or systematic review) written to bring together and summarize the results/conclusions from multiple original research articles/studies. This types of article will not usually have a methodology section, and they generally have very extensive bibliographies.

Theoretical article

Theoretical article written to contribute to the theoretical foundations of a field of study. In this type of article, an author will draw upon existing research to form a new theory or explore theories in new ways.

Book review

Book review while written by scholars, book reviews in scholarly journals are meant to provide a summary of a newly published book. Book reviews can lead to the discovery of new sources to investigate.

Editorial

Editorial while written by editors of scholarly journals, these articles are summaries of content included in a specific issue of a journal. Editorials can lead to the discovery of new sources to investigate.

Privacy Statement

The names and email addresses entered in this journal site will be used exclusively for the stated purposes of this journal and will not be made available for any other purpose or to any other party.