Evaluation of Alvarado score for diagnosis of appendicitis การประเมินผลของการใช้ระบบคะแนน Alvarado score ในการวินิจฉัยโรคไส้ติ่งอักเสบ

Authors

  • Nedtra nedphokaew

Abstract

Evaluation of Alvarado score for diagnosis of appendicitis

Nedtra Nedphokaew M.D.

Department of surgery, Sirindhorn Hospital, Khon Kaen

Abstract

Background

Acute appendicitis is the most common surgical abdominal emergency. An early diagnosis and prompt operation can reduce an unacceptable complication. This present study aims to evaluate the usefulness of Alvarado score for diagnosis of appendicitis.

Methods

This is a retrospective descriptive study. Charts were reviewed of all patients who underwent appendectomy for presumed acute appendicitis over a 13 month period at Sirindhorn hospital, Khon Kaen.(October 2016 to October 2017) Based on the Alvarado scoring system, patients were divided into 2 groups, as Group 1(score  ≥ 7) and Group 2 ( score < 7). Diagnosis was confirmed by histopathological examination. Sensitivity, Specificity, Positive predictive value (PPV), Negative predictive value (NPV), False positive (FP), False negative (FN), Likelihood ratios; LRs, and Accuracy were calculated.

Results

Of 103 patients undergoing appendectomy (mean age 37.81 ± 20.636 [SD] years, 56.3% women), with a female to male ratio of  58:45 (1.29:1), 12 (11.6%) had an negative appendectomy. Perforation rate was 17.5%. The overall sensitivity, specificity were 91.2%, 16.7%. Positive predictive value and Negative predictive value were 89.25%, 20%. False positive and False negative were 83.3 % and 8.8%. Positive Likelihood Ratios  1.09%, Negative Likelihood Ratios 0.53% ,and Accuracy was 82.52%.  

Conclusion

This scoring system could be safely used by general practitioners in deciding whether to refer a patient to hospital. Alvarado score could be as a decision rule for admission/ observation.

 

การประเมินผลของการใช้ระบบคะแนน Alvarado score ในการวินิจฉัยโรคไส้ติ่งอักเสบ

เนตรา เนตรโพธิ์แก้ว พ.บ.

กลุ่มงานศัลยกรรม โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น

บทคัดย่อ

บทนำ

โรคไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลันเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุดในโรคศัลยกรรมทางช่องท้อง  การวินิจฉัยและการ

ได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งที่รวดเร็วสามารถลดภาวะแทรกซ้อนลงได้  วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อจะประเมินผล

ของการใช้ระบบคะแนน Alvarado score ในการวินิจฉัยโรคไส้ติ่งอักเสบ

วิธีการศึกษา

เป็นการศึกษาแบบ Retrospective descriptive study โดยการทบทวนเวชระเบียนย้อนหลัง (Retrospective chart review)  ในผู้ป่วยที่วินิจฉัยว่าเป็นโรคไส้ติ่งอักเสบและได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งในภาวะฉุกเฉินทั้งหมดในโรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2559 ถึงวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2560   นำระบบคะแนน Alvarado score มาประเมิน  โดยคะแนนที่  ≥ 7 เป็นเกณฑ์ในการตัดสินว่าเป็นไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน นำมาเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาความถี่, ค่าเฉลี่ย, ร้อยละ, ความไว (Sensitivity), ความจำเพาะ (Specificity),Positive predictive value, Negative predictive value, False positive, False negative, Likelihood ratios; LRs, ค่า Accuracy

ผลการศึกษา

ผู้ป่วยทั้งหมด 103 คน เพศหญิง ร้อยละ 56.3  คิดเป็นอัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย = 1.29:1

อายุเฉลี่ย 37.81 ± 20.636 ปี   ไม่ได้เป็นโรคไส้ติ่งอักเสบจริงหลังการผ่าตัด (Negative appendectomy)

ร้อยละ 11.6  พบอัตราการแตกของไส้ติ่งที่ร้อยละ17.5  ผลวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า Alvarado score ที่มีค่า ≥ 7

มีค่า Sensitivity ร้อยละ 91.2, Specificity ร้อยละ 16.7, Positive predictive value ร้อยละ 89.25,

Negative predictive value ร้อยละ 20,  False positive ร้อยละ 83.3, False negative ร้อยละ 8.8,

Positive Likelihood Ratios เท่ากับ 1.09, Negative Likelihood Ratios เท่ากับ 0.53,และค่า Accuracy อยู่ที่

ร้อยละ 82.52  

สรุป

การวินิจฉัยโรคไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน ด้วยระบบคะแนน Alvarado score สามารถนำไปใช้ในทางปฏิบัติได้จริง และมีประโยชน์ในการช่วยเสริมความมั่นใจในการวินิจฉัยมากขึ้น  สามารถใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณารับผู้ป่วยไว้รับการรักษาในโรงพยาบาลได้

Downloads

Published

2020-08-08

How to Cite

nedphokaew, N. (2020). Evaluation of Alvarado score for diagnosis of appendicitis การประเมินผลของการใช้ระบบคะแนน Alvarado score ในการวินิจฉัยโรคไส้ติ่งอักเสบ. Journal of the Association of General Surgeons of Thailand under the Royal of Patronage of HM the King, 2(2). Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/agstjournal/article/view/243698