การพยาบาลเพื่อเฝ้าระวังภาวะความดันในช่องท้องสูงจากการ เสียเลือด-น้ำ ในผู้ป่วยบาดเจ็บช่องท้องจากอุบัติเหตุ : กรณีศึกษาเปรียบเทียบ 2 ราย
คำสำคัญ:
การพยาบาล, การเฝ้าระวัง, ภาวะความดันในช่องท้องสูงบทคัดย่อ
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วย การดำเนินของโรค การรักษาข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล การพยาบาลและผลลัพธ์ทางการพยาบาล ในผู้ป่วยบาดเจ็บช่องท้องจากอุบัติเหตุ จำนวน 2 ราย ที่เข้ารับการรักษาที่หอผู้ป่วยหนักศัลยกรรมอุบัติเหตุ 1 โรงพยาบาลขอนแก่น ระหว่างเดือน ตุลาคม 2562 ถึง กันยายน 2564 เพื่อให้ได้แนวทางในการให้การพยาบาล เพื่อเฝ้าระวังภาวะความดันในช่องท้องสูงจากการเสียเลือด-น้ำ ในผู้ป่วยบาดเจ็บช่องท้องจากอุบัติเหตุ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียน การสังเกต การซักประวัติผู้ป่วยและญาติ การใช้กระบวนการพยาบาลกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ใช้กรอบแนวคิดในการประเมินภาวะสุขภาพของ FANCAS ผลการศึกษาพบว่าการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บช่องท้องจากอุบัติเหตุเป็นภาวะวิกฤต มีภาวะ Hypovolemic shock จากการเสียเลือดในช่องท้อง มีการวัดความดันในช่องท้อง ทุก 6 ชั่วโมง เพื่อเฝ้าระวังภาวะความดันในช่องท้องสูงจากการเสียเลือดในผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการผ่าตัด และผ่าตัด ร่วมกับการติดตามสัญญาณชีพและรายงานแพทย์เมื่อพบความผิดปกติ เพื่อป้องกัน การนำสู่ภาวะไตวายเฉียบพลันจากภาวะ Abdominal compartment syndrome (ACS) จนนำสู่ภาวะ Multiple Organ Failure (MOFs) และเสียชีวิตได้ วินิจฉัยที่รวดเร็วร่วมกับให้การรักษาพยาบาลได้อย่างทันท่วงที เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ในการพยาบาลทั้ง 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะฉุกเฉิน 2) ระยะวิกฤต 3) ระยะฟื้นฟู ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ควรจัดทำแนวปฏิบัติการพยาบาล เพื่อเฝ้าระวังภาวะไตวายเฉียบพลันโดยใช้ Shock index (SI) ในการประเมินและให้การดูแลรักษา ในผู้ป่วยบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
References
World Health Organization. Global status Report on Road safety 2018 : [Internet]. 2018. [cited 15 June 2022]; Available from: https://www.who.int/publications/i/item/9789241565684
Kyungjin Hwang,Kyoungwon Jung, Junsik Kwon,Jonghwan Moon, Yunjung Heo,John Cook Jong Lee. Distribution of Trauma Deaths in a Province of Korea: Is "Trimodal" Distribution Relevant Today?. Yonsei Medical Joural 2020; March 61(3):229-34.
ไสว นรสาร,พีรญา ไสไหม.แนวคิดและหลักการจัดการผู้บาดเจ็บสำหรับพยาบาล. ใน: ไสว นรสาร, พีรญา ไสไหม, บรรณาธิการ.การพยาบาลผู้บาดเจ็บ Trauma Nursing. กรุงเทพฯ: บียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2559 :1-28
สมพล ฤกษ์สมถวิล. การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บช่องท้อง.วารสารสถาบันบำราศ นราดูร 2560;3:1-8
นันทพร หาสาสน์, ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, ศรัทธา ริยาพันธ์. ปัจจัยทำนายภาวะช็อคในผู้ป่วยที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน. วารสารสภาการพยาบาล2562;34(3):60-75
David A Wacker Michael E Winters . Shock.Emerg Med Clin North Am 2014;32:747-58
ศุภฤกษ์ ปรีชายุทธ. Abdominal Compartment Syndrome.ใน:ดุสิต สถาวร,ครรชิต ปิยะเวชวิรัตน์, บรรณาธิการ. Critical Care Medicine .พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด; 2557.342-50
อรทัย สืบกินร,นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์.ผลของแนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตอุบัติเหตุ โรงพยาบาลขอนแก่น.Journal of Nursing and Health Care 2019; 37(2): 208-17.
สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ. การประเมินผู้ป่วยระยะวิกฤต FANCUS. ใน: สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ, กาญจนา สิมะจารึก,เพลินตา ศิริปการ, ชวนพิศ ทำนอง ,บรรณิการ. การปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ระยะวิกฤต. พิมพ์ครั้งที่ 7. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2556. 1-32
ไสว นรสาร .การพยาบาลผู้บาดเจ็บ Trauma Nursing.พิมพ์ครั้งที่2 .กรุงเทพฯ: ไอเดีย อินสแตนท พริ้นทิ่ง;2564
โพธิพงษ์ เรืองจุ้ย,วริศ วีระวัฒนตระกูล,สุภาพรณ์ ตัณฑ์สุระ.Trauma Practice in Thailand 4.0. พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น: หจก.ขอนแก่นการพิมพ์;2561
กรรณิกา รักยิ่งเจริญ ,อาภรณี ไทยกล้า,ประภาพร สุวรรณกูฏ.การใช้หลัก ABCs ในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง.วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพปีที่ 12 (ฉบับพิเศษ) 2561;12 :12-19
พรศิริ พันธสี.กระบวนการพยาบาล&แบบแผนสุขภาพ : การประยุกตใช้ทางคลินิก.พิมพ์ครั้งที่ 20. สมุทรปราการ: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ; 2560
สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ,พัฒน์พงศ์ นาวีเจริญ. ตำราศัลยศาสตร์เล่ม2.พิมพ์ครั้งที่13.กรุงเทพฯ :ไพลิน บุ๊คเน็ต;2558
Maluso P, Olson J, Sarani B. Abdominal compartment hypertension and abdominal compartment syndrome. Critical Care Clinn 2016;32(2)213-22
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว