การประเมินรูปแบบการดำเนินการนโยบายเศรษฐกิจสุขภาพ ด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและวัฒนธรรมในสถานการณ์ COVID-19 ภายใต้มาตรการด้านสาธารณสุข กรณีศึกษา Sandbox เชียงคาน จังหวัดเลย

ผู้แต่ง

  • วัชรี แก้วสา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
  • นันทะกานต์ ขาวดา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
  • จิตภินันท์ แสนหลวงอินทร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
  • รัตติยา บุญเกียรติบุตร
  • นิติรัตน์ มีกาย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก

คำสำคัญ:

นโยบายเศรษฐกิจสุขภาพ, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, เชียงคาน

บทคัดย่อ

การคึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการประเมินรูปแบบการดำเนินการนโยบายเศรษฐกิจสุขภาพด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและวัฒนธรรมในสถานการณ์ COVID-19 ภายใต้มาตรการด้านสาธารณสุข กรณีศึกษา Sandbox เชียงคาน จังหวัดเลย เป็นการศึกษาวิจัยแบบ     เชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณใช้ทฤษฎีการประเมิน CIPPIEST ทฤษฎีของ Daniel วิเคราะห์ข้อมูล     ทางสถิติเชิงพรรณนาผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการดำเนินการนโยบายเศรษฐกิจสุขภาพด้าน     การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและวัฒนธรรมในสถานการณ์ COVID-19 ภายใต้มาตรการด้านสาธารณสุข กรณีศึกษา Sandbox เชียงคาน จังหวัดเลย การดำเนินการมีวางแผนอย่างเป็นระบบมีการสื่อกับประชาชนถึงนโยบายและวัตถุประสงค์สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนในพื้นที่ไปจนถึงการอธิบายถึงประโยชน์ของการดำเนินการจึงส่งผลให้การดำเนินการเกิดความร่วมมือจากทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวเข้ามาใช้บริการมากขึ้นสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประชาชนในพื้นที่สูงขึ้นเกิดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพภายใต้สถานการณ์การระบาดที่ยั่งยืน

References

ศรุตานนท์ ชอบประดิษฐ์. วิกฤตโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างไร. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์ 2563; 3(2): 1.

สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข. คู่มือการปฏิบัติ มาตรการ Sandbox Safety Zone in School. นนทบุรี: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2564.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการรองรับการพัฒนารูปแบบการเดินทางเข้าประเทศไทยเพื่อการท่องเที่ยวในพื้นที่ Sandbox และ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแนวพรมแดน ถาวร (One Day Trip). [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2565] เข้าถึงได้จาก: https://shorturl.asia/91qJx.

รัฐบาลไทย. ศบค.เคาะปรับระดับโซน สีพื้นที่ใหม่ พร้อมวางแนวทางจัดงาน ปีใหม่ปรับมาตรการเข้าประเทศ. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 10 มกราคม 2565] เข้าถึงได้จาก: https://www. thaigov.go.th/news/contents/details/ 49404.

ประชาชาติธุรกิจ. “เชียงคาน-ในเวียง” ขึ้นแท่น TOP 100 แหล่งท่องเที่ยวยั่งยืนโลกปี 63. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2565] เข้าถึงได้จาก https://www.prachachat.net/tourism/ news-532726.

สำนักงานเขตสุขภาพที่ 8. กิจการท่องเที่ยววิถีเชียงคาน. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2565] เข้าถึงได้จาก: https://r8way.moph.go.th/ r8wayNewadmin/page/upload_file/20210823072337.pdf

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. รายงานการประชุมคณะกรรมการอำนวยการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์ กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ครั้งที่ 1/2564. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564] เข้าถึงได้จาก : https://shorturl.asia/5AawM.

ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. รายงานการประชุมหารือเตรียมความพร้อมเสนอข้อมูล ต่อ ศบค. ในการขอเปิด Sandbox Chiangkhan. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2565] เข้าถึงได้จาก: https://pr.moph.go.th/print. php?url=pr/print/2/03/162526/.

โทรสารในราชการกระทรวงมหาดไทย. การบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 5 พฤษภาคม 2565] เข้าถึงได้จาก: https://moi.go.th/moi/wp-content/uploads/2021/09/sarayut02.pdf.

Rattana Buosonte. (2013). CIPP and CIPPIEST Evaluation Models: Mistaken and Precise Concepts of Applications. Silpakorn Educational Research Journal, 7-23.

นิคม ถนอมเสียง. ขนาดตัวอย่างสำหรับวิเคราะห์ logistic regression กรณีใช้สูตร ของ Hsieh, Bloch & Larson: เอกสารประกอบการสอนวิชา 516707 Categorical Data Analysis for Health Research. ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น; 2543.

ภคินี วัชรปรีดา. แนวทางการพัฒนาการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชนในจังหวัดนครพนม. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน วันที่ 8-9 ธันวาคม 2559: 2453.

ศุภัตรา ฮวบเจริญ และนันทินี ทองอร. แนวทางการสร้างความเชื่อมั่นต่อการท่องเที่ยวในภาวะวิกฤตโรคระบาด. วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย 2565; 17(1): 46.

เฉลิมพล ศรีทอง และธีรพงษ์ เที่ยงสมพงษ์. แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองมรดกโลก และเมืองสร้างสรรค์โลกโดยชุมชนเมืองเก่าสุโขทัย สำหรับฐานวิถีชีวิตใหม่หลังสถานการณ์ โควิด 19. วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัย ธนบุรี 2564; 15(2): 111-112.

ศุภลักษณ์ ศรีวิไลย และรุ่งเรือง ทองศรี. การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลต่อการท่องเที่ยวของประเทศไทย. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น 2564; 7(8): 412.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-08