การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป และเทคโนโลยีแดชบอร์ด เพื่อนำเสนอข้อมูลผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
คำสำคัญ:
การประยุกต์โปรแกรมสำเร็จรูป, เทคโนโลยีแดชบอร์ด, ผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคโควิด-19บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมขององค์ประกอบ การสร้างระบบการจัดเก็บและการนําเสนอข้อมูล และความพึงพอใจของผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยา ในการนำเสนอข้อมูล ผู้ป่วยเสียชีวิตจาก โรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โควิด-19) ด้วยเทคโนโลยีแดชบอร์ด ศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 12 คน ด้วยแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยาทุกระดับต่อความเหมาะสมขององค์ประกอบ การสร้างระบบการจัดเก็บและนําเสนอข้อมูล และความพึงพอใจที่มีต่อระบบการนําเสนอข้อมูลผู้ป่วยเสียชีวิตจากโควิด-19 และตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (CVI) และความเที่ยงตรง (Reliability) โดยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ความเหมาะสมโดยภาพรวมขององค์ประกอบในการจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วยเสียชีวิต จากโรคโควิด-19 ซึ่งประกอบด้วย เพศ อายุ โรคประจำตัว ตำบลของผู้เสียชีวิต และข้อมูลการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 อยู่ในระดับมาก ( = 4.41, S.D. = 0.47) ความเหมาะสมของระบบการนำเสนอข้อมูลผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคโควิด-19 ด้วยเทคโนโลยีแดชบอร์ดในด้านการนำเสนอรายงานผลข้อมูลอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก( = 4.18 , S.D. = 0.56) และความพึงพอใจของผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยาที่มีต่อระบบการนําเสนอข้อมูลผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรค โควิด-19 ในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมาก( =4.34 , S.D. = 0.43) การเปลี่ยนรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลตามองค์ประกอบเทคโนโลยีแดชบอร์ดช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความสะดวกและรวดเร็วในการทำงานมากยิ่งขึ้น และยังสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการนำเสนอได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและครบถ้วนมากยิ่งขึ้นด้วยเช่นกัน
References
ณัฏยาณี บุญทองคำ. ผลกระทบและแนวทางการจัดการการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ของพระภิกษุสงฆ์ในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร 2566; 11(2): 465-477.
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ภายในประเทศ อัพเดทรายวัน. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 2 กรกฎาคม 2565]; เข้าถึงได้จาก: https:// ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/.
สุริยะ หาญพิชัย, ฑัชวงษ์ จุลสวัสดิ์. ผล กระทบของประชาชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สู่การปรับตัวสู่ชุมชนวิถีใหม่ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี. Journal of Roi Kaensarn Academi 2564; 6(9): 126-141.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563. (2563, 29 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 137 ตอนพิเศษ 48 ง. หน้า 1
ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอบางคล้า. สถาน การณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ในอำเภอบาง คล้า. ฉะเชิงเทรา: สำนักงานสาธารณสุข อำเภอบางคล้า; 2565
วรากร ไทยปรีชา. การออกแบบแดชบอร์ดในโทรศัพท์เคลื่อนที่สำหรับอุตสา หกรรมโดยใช้โปรแกรมพาวเวอร์บีไอ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2565.
กนกวรรณ สีเนหะ, วราปภา อารีราษฎร์, กาญจนา ดงสงคราม. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีแดชบอร์ด เพื่อนําเสนอข้อมูลพื้นฐานตำบลห้วยเตย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2564; 8(1): 78-89.
กฤษณะ สุกาวงค์, ระพีพร กรมธรรมา, ณัฐพันธ์ สิงหาพรหม,และจารุวรรณ สารพล. การพัฒนาโปรแกรมเฝ้าระวังโรค ZR506 Dashboard รู้ทัน ป้องกันได้ เขตสุขภาพที่ 8. วารสารวิชาการ สำนักงาน ป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี 2566; 1(3): 1-19.
สายชล สู่สุข. การพัฒนาโปรแกรมควบคุมการตัดจ่ายงบประมาณของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. วารสาร วิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ 2564; 7(2): 215-232.
มธุริน ปิ่นทอง, จารุวรรณ พลอยดวงรัตน์. แดชบอร์ดเพื่อการจัดการฐานข้อมูลนักเรียน. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย (สพบท.) 2563; 3(4): 25-34.
เทวราช ทิพอุตร์, ปวีณา วันชัย. การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานราชการออนไลน์โดยใช้เทคนิค Multi-rater Appraisal กรณีศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น. ใน พุทธิพร ธนธรรมเมธี, Walailak Procedia; 27-28 มีนาคม 2562; นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2562. NCIs30-NCIs30.
พีระพงษ์ พิพัฒน์เจษฎากุล, เอื้อน ปิ่นเงิน. การพัฒนาระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนงานจำหน่ายไฟฟ้า. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2564; 5(2): 48-56.
ถลัชนันท์ น่วมนุ่ม. การใช้เทคโนโลยีแดชบอร์ด (Dashboard) เพื่อเพิ่มประสิทธิผลการตรวจสอบระบบไฟฟ้า1 (Patrol System) และการตัดต้นไม้แนวเสาไฟฟ้า ตามหลักรุกขกรรม: กรณีศึกษากองบำรุงรักษา ฝ่ายปฏิบัติการและบำรุง รักษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 (ภาค เหนือ) จังหวัดลพบุรี.วารสารโครงการ ทวิปริญญาทางรัฐประศาสนศาสตร์และบริหารธุรกิจ 2564, 1-15.
อภิยศ เหรียญวิพัฒน์. การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้าง Dashboard แสดงสถิติการใช้บริการกึ่งเรียลไทม์ของสำนักหอสมุด. PULINET Journal 2563; 6(3): 117-126.
สมเกียรติ แซ่เล็ก. การปรับปรุงกระบวน การการตัดสินใจปรับผังรายการโทรทัศน์โดยอาศัยแดชบอร์ดสำหรับความนิยมรายการทีวีจากสื่อสังคม [วิทยานิพนธ์ปริญญาโท]. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร; 2558.
ชดนีย์ ธัญพรหิรัณย์, ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี. การพัฒนาต้นแบบระบบถังขยะไอโอทีและระบบจัดเก็บข้อมูลการทิ้งขยะแบบออนไลน์ของนักเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2564; 7(1) : 54-62.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว