ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ที่บ้าน ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • ศิวโรจน์ พลน้ำเที่ยง โรงพยาบาลน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น

คำสำคัญ:

ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ, โรคเบาหวาน, ยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

บทคัดย่อ

ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน การศึกษาถึงปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำที่บ้าน ในประเทศไทยที่ผ่านมายังขาดข้อมูลปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยรับประทาน และความร่วมมือในการรับประทานยา การศึกษาครั้งนี้เป็น cross-sectional descriptive study ศึกษาความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ที่บ้าน ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น โดยใช้ข้อมูลเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และข้อมูลการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ที่บ้าน ย้อนหลัง 6 เดือน จากกลุ่มผู้ป่วย จำนวน 323 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ Chi-square test พบว่า ความชุกของการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ที่บ้าน ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ภายในระยะเวลา 6 เดือน คิดเป็น ร้อยละ 30.7 กลุ่มอาการส่วนใหญ่ ร้อยละ 78.8 มีอาการแต่ไม่มีการเจาะน้ำตาลปลายนิ้ว และร้อยละ 6.8 เคยเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำระดับรุนแรง ภายในระยะ 1 ปี ปัจจัยที่พบว่ามีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ได้แก่ เพศหญิง (p=0.008) รูปแบบการใช้ยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด (p<0.05) การใช้ยาฉีดอินซูลินร่วมกับยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดชนิดรับประทานที่ไม่ใช่กลุ่ม Sulfonylurea (p<0.05)  การเจาะน้ำตาลปลายนิ้วด้วยตนเอง (p<0.05) รวมถึงการให้ความร่วมมือในการรับประทานยา (p=0.008) และพฤติกรรมการรับประทานอาหาร (p<0.05)  มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ 

References

GBD 2021 Diabetes Collaborators. Global, regional, and national burden of diabetes from 1990 to 2021, with projections of prevalence to 2050: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2021. Lancet. 2023; 402(10397): 203-234.

Curkendall S, Zhang B, Oh K, Williams S, Pollack M, Garham J. Incidence and cast of hypoglycemia among patients with type2 diabetes in United states: Analysis of Health Insurance Database. JCOM. 2011; 18: 455-62.

Stargardt T, Gonder-Frederick L, Krobot KJ, Alexander CM. Fear of hypoglycaemia: defining a minimum clinically important difference in patients with type 2 diabetes. Health Qual Life Outcomes. 2009; 7(1): 91.

American Diabetes Association Workgroup on Hypoglycemia. Defining and reporting hypoglycemia in diabetes. Diabetes Care. 2005; 28(5): 1245-9.

Cryer PE, Axelrod L, Grossman AB, Heller SR, Montori VM, Seaquist ER, et al. Evaluation and management of adult hypoglycemic disorders: An Endocrine Society Clinical Practice Guideline. J Clin Endocrinol Metab. 2009; 94(3): 709-28.

Seaquist ER, Anderson J, Childs B, Cryer P, Dagogo-Jack S, Fish L, et al. Hypoglycemia and diabetes: A report of a workgroup of the american diabetes association and the endocrine society. Diabetes Care. 2013; 36(5): 1384-95.

International Hypoglycemia Study Group. Glucose concentrations of less than 3.0 mmol/L (54 mg/dL) should be reported in clinical trials: A joint position statement of the american diabetes association and the european association for the study of diabetes. Diabetes Care. 2017; 40(1): 155-7.

Segel SA, Paramore DS, Cryer PE. Hypoglycemia-associated autonomic failure in advanced type 2 diabetes. Diabetes. 2002; 51(3): 724-33.

Hsu PF, Sung SH, Cheng HM, Yeh JS, Liu WL, Chan WL, et al. Association of clinical symptomatic hypoglycemia with cardiovascular events and total mortality in type 2 diabetes. Diabetes Care. 2013; 36(4): 894-900.

Korytkowski M, DiNardo M, Donihi AC, Bigi L, DeVita M. Evolution of a diabetes inpatient safety committee. Endocrine Practice. 2006; 12: 91-9.

Savard V, Gingras V, Leroux C, Bertrand A, Desjardins K, Mircescu H, et al. Treatment of hypoglycemia in adult patients with type 1 diabetes: An observational study. Can J Diabetes. 2016; 40(4): 318-23.

Edridge CL, Dunkley AJ, Bodicoat DH, Rose TC, Gray LJ, Davies MJ, et al. Prevalence and incidence of hypoglycaemia in 532,542 people with type 2 diabetes on oral therapies and insulin: A Systematic review and Meta-analysis of population based studies. PLoS One. 2015; 10(6): e0126427.

Gehlaut RR, Dogbey GY, Schwartz FL, Marling CR, Shubrook JH. Hypoglycemia in type 2 diabetes - More common than you think. J Diabetes Sci Technol. 2015 ;9(5): 999-1005.

Henderson JN, Allen K V., Deary IJ, Frier BM. Hypoglycaemia in insulin‐treated type 2 diabetes: frequency, symptoms and impaired awareness. Diabetic Medicine. 2003; 20(12): 1016-21.

Caeiro G, Romero SA, Solis SE, Pozzi JM, Lozano ME, Waitman JN. Type 2 diabetes. Prevalence of hypoglycemia in public versus private health care system. Medicina (B Aires). 2020; 80(3): 203-10.

Chaitanakul C, Komolsuradej N. Frequency and associated factors of hypoglycemic symptoms and fear of hypoglycemia in elderly patient with type 2 diabetes at primary care unit of Songklanagarind hospital. Journal of Health Systems Research. 2019; 13: 312-22.

ปัญจณี กันทะวงษ์, อัญชลี เพิ่มสุวรรณ, สุระรอง ชินวงศ์, ดุจฤดี ชินวงศ์. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความกลัวภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ. Thai Journal of Pharmacy Practice. 2560; 11: 3-17.

Kaewput W, Thongprayoon C, Rangsin R, Bathini T, Torres-Ortiz A, Mao MA, et al. Incidence and risk factors associated with outpatient hypoglycemia in patients with type 2 diabetes and chronic kidney disease: A Nationwide Study. Endocr Res. 2020; 45(4): 217-25.

ชัชวาลย์ บุญญฤทธิ์. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลสิงห์บุรี. โรงพยาบาลสิงห์บุรีเวชสาร. 2563; 1: 63-72.

บุณยาพร เคลือบสำราญ, ศรินยา สัทธานนท์, แพรว สุวรรณศรีสุข, อภิรักษ์ วงศ์รัตนชัย, อัลจนา เฟื่องจันทร์. ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสบการณ์การเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ของผู้ป่วยเบาหวานในคลินิกเบาหวานของโรงพยาบาลพุทธโสธร จังหวัดฉะเชิงเทรา. Thai Journal of Pharmacy Practice. 2023; 15(4) :861-72.

Chantzaras A, Yfantopoulos J. Evaluating the incidence and risk factors associated with mild and severe hypoglycemia in insulin-treated type 2 diabetes. Value Health Reg Issues. 2022; 30: 9-17.

Tiruneh GG, Abebe N, Dessie G. Self-reported hypoglycemia in adult diabetic patients in East Gojjam, Northwest Ethiopia: institution based cross-sectional study. BMC Endocr Disord. 2019; 19(1): 17.

พรเทพ วัฒนศรีสาโรช, ละออง สาลีพวง, สุวรรธนา จงห่วงกลาง. ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการในโรงพยาบาลกบินทร์บุรี. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2559; 3: 51-60.

ศนิชยา นราธรสวัสดิกุล, กฤศมน ลิ้มธรเบญจพล, ปณิตา กานติกูล, ราม รังสินธุ์, ทนงสรรค์ เทียนถาวร, ณัชชา เหมปฐวี, et al. Associated factors of hypoglycemia in type 2 diabetes patient in Bangkhla hospital, Bangkhla district, Checheongsao province. เวชสารแพทย์ทหารบก. 2566; 76(4): 165-70.

Kautzky-Willer A, Kosi L, Lin J, Mihaljevic R. Gender-based differences in glycaemic control and hypoglycaemia prevalence in patients with type 2 diabetes: results from patient‐level pooled data of six randomized controlled trials. Diabetes Obes Metab. 2015; 17(6): 533-40.

Kaewput W, Thongprayoon C, Varothai N, Sirirungreung A, Rangsin R, Bathini T, et al. Prevalence and associated factors of hospitalization for dysglycemia among elderly type 2 diabetes patients: A nationwide study. World J Diabetes. 2019; 10(3): 212-23.

สุพัชรี ใจแน่, ศิริพันธุ์ สาสัตย์. ปัจจัยทำนายภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำของผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในเขตภาคใต้ตอนบน. วารสารเกื้อการุณย์. 2559; 23(1): 148-62.

อภิชาติ ใจใหม่, กฤตพัทธ์ ฝึกฝน, ขนิษฐา จันทิมา. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ารับบริการแผนกผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 2566; 17(1): 14-26.

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูประถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี, สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2566. Vol. 1. กรุงเทพมหานคร: ศรีเมืองการพิมพ์; 2566. 119–136 p.

พณัญญา เชื้อดำรง. ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในผู้ป่วยโรคเบาหวานและการเกิดอุบัติเหตุจราจร. มหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร. 2567; 2: 117-26.

Silbert R, Salcido-Montenegro A, Rodriguez-Gutierrez R, Katabi A, McCoy RG. Hypoglycemia among patients with type 2 diabetes: Epidemiology, Risk factors, and Prevention strategies. Curr Diab Rep. 2018; 18(8): 53.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-14

How to Cite

1.
พลน้ำเที่ยง ศ. ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ที่บ้าน ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. JKKPHO [อินเทอร์เน็ต]. 14 มีนาคม 2025 [อ้างถึง 5 พฤษภาคม 2025];7(1):e273177. available at: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/jkkpho/article/view/273177