ประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงานที่เข้ารับบริการในคลินิกตรวจสุขภาพ ในจังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • พูนสุข บุญมา โรงพยาบาลชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
  • กฤษณาพร เถื่อนโทสาร โรงพยาบาลชุมแพ จังหวัดขอนแก่น
  • ภัทรานุช ภูคำ โรงพยาบาลชุมแพ จังหวัดขอนแก่น

คำสำคัญ:

โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม, พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์, วัยทำงาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงานต่อน้ำหนักตัว ค่าดัชนีมวลกาย และพฤติกรรมสุขภาพ 4 ด้าน กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรวัยทำงาน จำนวน 45 ราย เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย โปรแกรมและคู่มือโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ แบบบันทึกข้อมูลสุขภาพ แอปพลิเคชันสาสุข อุ่นใจ ชาเลนช์ ของกรมอนามัย และแบบบันทึกข้อมูลโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและ Pair t test ผลการศึกษา พบว่า ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพฯ น้ำหนักตัวแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) ค่าดัชนีมวลกายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสถิติ (P<0.001) และพฤติกรรมสุขภาพ 4 ด้าน ได้แก่ พฤติกรรมการบริโภคแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสถิติ (P<0.001) พฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.031) พฤติกรรมการดูแลช่องปากแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ (P<0.001) พฤติกรรมการนอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.022) ดังนั้น โปรแกรมนี้สามารถนำไปใช้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของวัยทำงานได้

References

กระทรวงสาธารณสุข.คู่มือการดำเนินงานวัยทำงาน. ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2566.

World Health Organization (WHO). Noncommunicable diseases [Internet]. 2021 [cited 2024 Mar 10]. Available from:https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/noncommunicable-diseases.

กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. รายงานประจำปี 2565 NCD. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์. 2565.

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือแนวทางดำเนินงาน NCD clinic plus. กองโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข. 2566.

กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โครงการทบทวนสถานการณ์และผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประเทศไทย พ.ศ. 2560-2562. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2562.

เพ็ญวิภา นิลเนตร, ณฐกร นิลเนตร. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส.ของประชาชนวัยทำงานในพื้นที่หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 6. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน. 2564; 5(1): 27-38.

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. หุ่นดีสุขภาพดีง่ายๆ แค่ปรับ 4 พฤติกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). บริษัทสามเจริญพานิชย์ (กรุงเทพ) จำกัด. 2561.

สุรีย์ ทั่งทอง และสุมลรัตน์ ขนอม. ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ต่อการลดปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแห่งหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและการศึกษา. 2564; 1(2): 1–15.

ภาวิณี ชุ่มเฉียง, ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร และณิชกานต์ ทรงไทย.ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพ และดัชนีมวลกายในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุขและการศึกษา. 2561; 19(1): 108–182.

ปราณี จันธิมา และสมเกียรติ ศรีธาราธิคุณ. ผลของการสนับสนุนการจัดการตนเองต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนลงพุง. พยาบาลสาร. 2560; 44(2): 162–171.

Pender NJ, Murdaugh CL, Parsons MA. Health promotion in nursing practice. 7. ed. Boston: Pearson; 2015.

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ. คู่มือการเข้าร่วมภารกิจสาสุข อุ่นใจ ชาเลนซ์ 2567. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2567

เสาวลักษณ์ บู่ทอง, พัชรา พลเยี่ยม. สถานการณ์และแนวโน้มของพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงานในเขตสุขภาพที่ 6 ปี พ.ศ. 2562–2564. วารสารวิชาการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดอุดรธานี. 2566; 1(2): 74–89.

กระทรวงสาธารณสุข. สมุดบันทึกสุขภาพวัยทำงาน. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 10 มี.ค. 2567]; เข้าถึงได้จาก: https://hp.anamai.moph.go.th/web-upload/4xceb3b571ddb70741ad132d75876bc41d/tinymce/OPDC/OPDC2564-S/IDC1_19/OPDC_2564_IDC1-19_03.pdf

Best J. Research is Education. 3rded. Englewood cliffs: N.J. Prentice-Hall;1977

Issrani R, Reddy J, Bader AK, Albalawi RFH, Alserhani EDM, Alruwaili DSR, et al. Exploring an Association between Body Mass Index and Oral Health-A Scoping Review. Diagnostics. 2023;13(5):1–11.

สนทยา สิงห์นิกร. ผลการใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส ต่อระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการในคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี. วารสารอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน. 2567; 9(4): 134-141.

Saranac L. Highlights from the 19th European Congress of Endocrinology (ECE) 2017, Lisbon, 20th-23rd May. Facta Univ Ser Med Biol. 2017;19(1):45.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-19

How to Cite

1.
บุญมา พ, เถื่อนโทสาร ก, ภูคำ ภ. ประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของวัยทำงานที่เข้ารับบริการในคลินิกตรวจสุขภาพ ในจังหวัดขอนแก่น . JKKPHO [อินเทอร์เน็ต]. 19 มีนาคม 2025 [อ้างถึง 5 พฤษภาคม 2025];7(1):e273367. available at: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/jkkpho/article/view/273367