สมุนไพรไทยกับการรักษาอาการปวดประจำเดือน
คำสำคัญ:
การแพทย์แผนไทย, สมุนไพรไทย, ปวดประจำเดือนบทคัดย่อ
อาการปวดประจำเดือนเป็นอาการที่มีความสำคัญและพบบ่อยในสตรีวัยเจริญพันธุ์ วัตถุประสงค์ของบทความนี้มุ่งนำเสนอการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับอาการปวดประจำเดือน การใช้สมุนไพรบรรเทาอาการปวดประจำเดือน จากตำราการแพทย์แผนไทย แพทย์แผนปัจจุบัน บทความวิจัยทั้งในและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า อาการปวดประจำเดือน ส่วนใหญ่แล้วเกิดจากความไม่สมดุลของธาตุทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ดังนั้นการรักษาจึงใช้สมุนไพรเพื่อปรับให้ธาตุสมดุลกัน ซึ่งสมุนไพรส่วนใหญ่เป็นส่วนประกอบในตำรับยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ เช่น ไพล (Zingiber cassumunar Roxb.) กระเทียม (Allium sativum L.) พริกไทย (Piper nigrum L.) โดยมีรสเผ็ดร้อน ซึ่งตรงกับทฤษฎีการแพทย์แผนไทยที่อธิบายว่า รสเผ็ดร้อน มีสรรพคุณช่วยแก้โรคลม เพิ่มปิตตะและวาตะ ช่วยลดเสมหะ จึงส่งผลให้ขับระดู บำรุงไฟธาตุ แก้ปวดท้อง นอกจากนี้การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรพบว่ามีความสอดคล้องกับการรักษาอาการปวด เช่น ฤทธิ์ยับยั้งอาการปวด และฤทธิ์ต้านการอักเสบ จากข้อมูลดังกล่าว สมุนไพรไทยสามารถนำมาใช้ในการรักษาอาการปวดประจำเดือนได้ เพื่อเป็นทางเลือกในการรักษาและอนุรักษ์ ส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้คงอยู่ แต่อย่างไรก็ตาม ควรมีการศึกษาในการวิจัยเชิงคลินิกเพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสมุนไพรสำหรับการรักษาอาการปวดประจำเดือน
References
น้ำทิพย์ ชินนาพันธ์. รูปแบบการแพทย์แผนไทยในระบบบริการสาธารณสุขระดับโรงพยาบาลชุมชน กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร-มหาบัณฑิต]. สงขลา:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2560.
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ : ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ: สกสค. ลาดพร้าว; 2554.
นันทนา ธนาโนวรรณ. ตำราการพยาบาลนรีเวช (ฉบับองค์รวม). กรุงเทพฯ:
วี พริ้นท์; 2553.
คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. บัญชียาหลักแห่งชาติ. [ออนไลน์]. (2563) [เข้าถึง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2563]. เข้าถึงได้จาก http://www.ratchakitcha. soc. goth/DATA/PDF/2563/E/254/T_0003 .PDF.
จันธิดา กมลาสน์หิรัญ และอรวรรณ เล็กสกุลไชย. การศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดตำรับยาประสะไพลเปรียบเทียบกับ Mefenamic acid ในการลดอาการปวดประจำเดือนชนิดปฐมภูมิ: การศึกษาทางคลินิก ระยะที่ 2. ธรรมศาสตร์เวชสาร 2555; 12(4): 749 –56.
ไกรสีห์ ลิ้มประเสริฐ. เวชกรรมไทยปะยุกต์ 1 ตอน ทฤษฎีธาตุและการวินิจฉัยโรค. กรุงเทพฯ: ศิลป์สยามบรรจุภรรณ์และการพิมพ์; 2559.
มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมฯ อายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์). ตำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทยศาสตร์สงเคราะห์) ฉบับพัฒนา ตอนที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สีไทย; 2538.
Kowsalya, RG., Swetha, N, AD., Arpana, J. and Sridevi, R. Kashtartava: A Clinical Study. Journal of Ayurvedic and Herbal Medicine 2019; 5(4): 122 – 24.
Bhagyashri, P., Rahul, K., Vijay, B. and Kirti, B. Dysmenorrhoea (Kashtartava): An Ayurvedic Perspective. International Journal of Herbal Medicine 20155; 3(3): 33 – 5.
กองการประกอบโรคศิลปะ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม. : ม.ป.พ.; ม.ป.ป.
วรพรรณ สิทธิถาวร ลลิตา วีระเสถียร และชไมพร อันสว่าง. สมุนไพรสำหรับโรคสตรีที่ใช้โดยหมอพื้นบ้านในจังหวัดนครนายก. ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2562;14(3): 111 – 21.
Isa, N, M., Abdelwahab. S, I., Mohan, S., et al. In vitro anti-inflammatory, cytotoxic and antioxidant activities of boesenbergin A, a chalcone isolated from Boesenbergia rotunda (L.) (fingerroot). Brazilian Journal of Medical and Biological Research 2012; 45(6): 524 – 30.
เกศริน มณีนูน บดินทร์ ชาตะเวที จอมขวัญ ดำคง และคณะ. การศึกษาภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรรักษาโรคโลหิตระดูสตรีของหมอพื้นบ้านในจังหวัดกระบี่และสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 2560; 22(3): 243 – 58.
Hussein, H, J., Hameed, I, H and Hadi, M, Y. A review: anti-microbial, an-inflammatory effect and cardiovascular effects of garlic: Allium sativum. Research Journal of Pharmacy and Technology 2017;10(11): 4069 – 78.
Tanko, Y., Mohammed, A., Okasha, M,A., et al. Anti-nociceptive and anti-inflammatory activities of ethanol extract of Syzygium aromaticum flower bud in wistar rats and mice. African Journal of Traditional, Complementary and Alternative Medicines 2008; 22; 5(2): 209 – 12.
Das, D, C., Sinha, N, K and Das, M. The use of medicinal plants for the treatment of gynaecological disorders in the eastern parts of India. Indian journal of obstetrics and gynaecology 2015; 2(1) : 16 – 27.
Bhatia, H., Sharma, Y,P., Manhas, R, K., et al. Traditional phytoremedies for the treatment of menstrual disorders in district Udhampur, J&K, India. Journal of Ethnopharmacology; 2014.
Ojewole, J, A. Analgesic, anti-inflammatory and hypoglycemic effects of ethanol extract of Zingiber officinale (Roscoe) rhizomes (Zingiberaceae) in mice and rats. Phytotherapy Research 2006; 20(9) : 764 – 72.
Rajith, N,P., Ambily,D,V., Dan, V, M., et al. A survey on ethnomedicinal plants used for menstrual disorders in Kerla. Indian journal of traditional knowledge 2012; 11(3): 453 – 60.
Liju, V,B., Jeena,k and Kuttan,R. An evaluation of antioxidant, anti-inflammatory, and antinociceptive activities of essential oil from Curcuma longa L. Indian Journal of Pharmacology 2011; 43(5): 526 – 31.
Ullah, H, A., Zaman, S., Juhara, F., et al. Evaluation of antinociceptive, in vivo & on-vitro anti-inflammatory activity of ethanolic extract of Curcuma zedoaria rhizome. BMC Complementary and Alternative Medicine 2014; 14(1): 346.
Asgarpanah, J., Kazemivash, N. Phytochemistry and pharmacologic properties of Myristica fragrans Hoyutt.: A review. African Journal of Biotechnology 2012; 11(65) : 12787 – 93.
Aqel, M., Shaheen, R. Effects of the volatile oil of Nigella sativa seeds on the uterine smooth muscle of rat and guinea pig. Journal of Ethnopharmacology 1996; 52(1): 23 – 6.
Hollebeeck, S., Winand,J., Hérent, M, F., et al. Anti-inflammatory effects of pomegranate (Punica Granatum L.) husk ellagitannins in Caco-2 cells, an in vitro model of human intestine. Food & Function 2012; 3(8): 875 – 85.
Tasleem, F., Azhar, L., Ali, S,N., et al. Analgesic and anti- inflammatory activities of Piper nigrum L. Asian Pacific Journal of Tropical Medicine 2014;7: 461 – 8.
Leelarungrayub, J., Manorsoi, J and Aranya Manorsoi. Anti-inflammatory activity of niosomes entrapped with Plai oil (Zingiber cassumunar Roxb.) by therapeutic ultrasound in a rat model. International Journal of Nanomedicine 2017;29(12): 2469 – 76.
Chatterjee,A., Chatterjee,S., Biswas,A ., et al.“Gallic acid enriched fraction of Phyllanthus emblica potentiates indomethacin induced gastric ulcer healing via e-NOS-dependent pathway,” Evidence-Based Complementary and Alternative Medicine 2012; 4: 1 – 13.
Bagheri, S, M., Dashti-R, M, H and Morshedi,A. Antinociceptive effect of Ferula assa-foetida oleo-gum-resin in mice. Research Pharmaceutical Science 2014; 9(3): 207 – 12.
Mandegary, A., Pournamdari, M and Sharififar, F., et al. Alkaloid and flavonoid rich fractions of fenugreek seeds (Trigonella foenum-graecum L.) with antinociceptive and anti-inflammatory effects 2012; 50(7): 2503 – 07.
Kamil, S, S., Hameed, I, H and Hamza, L, F. Acorus calamus: Parts used, Insecticidal, Anti-Fungal, Antitumour and Anti-inflammatory activity: A review. International Journal of Pharmaceutical Quality Assurance 2017; 8(3): 153 – 57.
Agung, V, L., Mappiasse,A, A and Wahab, S. Anti-Inflammatory Effect of Aloe Vera (l) Burm, F. on COX-2 and Histamine Expression in Mice Skin Exposed to UVB. American Journal of Clinical and Experimental Medicine 2016; 4(4) : 94 – 7.
Yang, M, H., Ail, Z., Khan, I, A., et al. Anti-inflammatory activity of constituents isolated from Terminalis chebula. Natural Product Communications 2014; 9(7): 965 – 8.
Jayesh, K., Karishma, R., Vysakh, A., et al. Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb fruit exerts anti-inflammatory effect via regulating arachidonic acid pathway and pro-inflammatory cytokines in lipopolysaccharide-induced RAW 264.7 macrophages. Inflammopharmacology 2018; 28(1) : 265 – 74.
ราตรี สว่างจิตร ณัฐกานต์ นันตลาด ประภัสสร ประดากรณ์ และคณะ. ผลเบื้องต้นของยาแคปซูลประสะไพลเพื่อรักษาอาการประจำเดือนผิดปกติ. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2562; 17(1): 63 – 76.
มธุรดา วิสัย พีรยา ศรีผ่อง สมศักดิ์ นวลแก้ว และคณะ. การศึกษาเบื้องต้นถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาแคปซูลประสะไพลสกัด ในการบรรเทาอาการปวดแบบเฉียบพลันที่มีสาเหตุจากการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ. วารสารเภสัชกรรมไทย 2562; 11(1): 268 – 83.
Leelarungrayub, J., Manorsoi, J. and Manorsoi, A. Anti-inflammatory activity of niosomes entrapped with Plai oil (Zingiber cassumunar Roxb.) by therapeutic ultrasound in a rat model. International journal of nanomedicine 2017; 29(12): 2469 – 76.
Vannabhum, M., Poopong, S., Wongwananuruk, T., et al. The Efficacy of Thai Herbal Prasaplai Formula for Treatment of Primary Dysmenorrhea: A Short-Term Randomized ControlledTrial. Evidence-Based Complementary and Alternative 2016; (5) : 1 – 7.
จอมจิต วารีขันธุ์ ปาริชาติ พงษ์พานิช และอิศรา ดาศรี. การพัฒนางานเวชกรรมไทยให้เป็นเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ตัวอย่างเวชปฏิบัติ : โรคโลหิตระดู. ใน ทวี เลาหพันธ์ เอื้อพงศ์ จตุรธำรง ธานี เทพวัลย์. บรรณาธิการ. การแพทย์แผนไทยประยุกต์กับการพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : ศุภวนิชย์การพิมพ์; 2554.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว