การจัดการตนเองเพื่อป้องกันภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

ผู้แต่ง

  • วรรวิษา สำราญเนตร วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
  • นิตยา กออิสรานุภาพ วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
  • เพชรลดา จันทร์ศรี วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การจัดการตนเอง, ภาวะน้ำเกิน, โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย, การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

บทคัดย่อ

การจัดการตนเองเป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดพฤติกรรมใหม่จากกระบวนการเรียนรู้ของผู้ป่วยว่าพฤติกรรมนั้นมีประโยชน์และส่งผลให้ผู้ป่วยปฏิบัติพฤติกรรมนั้นอย่างต่อเนื่อง และสามารถควบคุมอาการของโรคได้ วัตถุประสงค์ของบทความเรื่องนี้มุ่งเน้นให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการตนเองเพื่อป้องกันภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม เป็นการนำแนวคิดการจัดการตนเอง ของ Kanfer and Gaelick ประกอบด้วย (1) การติดตามตนเอง (2) การประเมินตนเอง และ (3) การให้แรงเสริมตนเอง โดยการให้ความรู้และฝึกทักษะ การกำกับตนเองในเรื่อง การบริโภคอาหารและน้ำดื่ม การใช้ยา และการควบคุมน้ำหนักที่ เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการจัดการตนเองที่ดีและสามารถดำเนินชีวิตได้สอดคล้องกับโรค ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนและลดผลกระทบที่เกิดจากภาวะน้ำเกินได้ รวมถึงลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

References

Ishigami J, Matsushita K. Clinical epidemiology of infectious disease among patients with chronic kidney disease. Clin Exp Nephrol 2019; 23(4): 437 – 47.

ศุภดีวัน พิทักษ์แทน. การพยาบาลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเพื่อผ่าตัดปลูกถ่ายไต: กรณีศึกษา. วารสารวิชาการแพทย์ 2562; 33(3): 589 – 600.

Kidney Disease Improving Global Outcome (KDOQI) work group. KDIGO clinical practice guideline for the Evaluation and Management of Chronic Kidney Disease. Kidney Intsuppl; 2015.

อนุตตร จิตตินันท์และคณะ.คำแนะนำสำหรับการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ : สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย; 2558.

Ying Liu et.al. The profile of Timing Dialysis Initiation in Patients with End-stage renal Disease in China: A Cohort Study. Kidney Blood Pressure Research 2020; 45: 180 – 93.

โสมพันธ์ เจือแก้วและศิราณี เครื่อสวัสดิ์. คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยไตวายที่มารับการผ่าตัดใส่สายสวนระยะยาวเพื่อฟอกเลือดในระยะเตรียมก่อนผ่าตัดและระยะตรวจติดตามผลหลังผ่าตัด. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2557.

Ghaffar, U., & Easom, A.K. A Quality improvement project: Strategies to reduce intradialytic hypotension in hemodialysis patients. Journal of Renal Nutrition 2015; 19(2): 153 – 60.

Slensisck, N., Pienkos, S., Sun, S., Doss-McQuitty,S., & Schiller, B. The chronic disease self-management program-A pilot study in patients undergoimg hemodialysis. Nephrology News& Issues 2015; 29(4): 30 – 2.

ชัชวาล วงค์สารี และจริยา กฤติยาวรรณ. การให้ความรู้แบบเข้มข้นเพื่อบำบัดภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม: บทบาทพยาบาลไตเทียม. วารสาร มฉก.วิชาการ 2560; 21(41): 137 – 50.

ชัชวาล วงค์สารีและเรณู อาจสาลี. ประสบการณ์การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารสภากาชาดไทย 2559; 9(2): 132 – 44.

สุภาพร ไชยวัฒนตระกูล. การพัฒนารูปแบบการป้องกันภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและการสาธารณสุขชุมชน 2561; 1(2): 131 – 46.

Rajdev, K., et.al, Fluid resuscitation in patients with end-stage renal disease on hemodialysis presenting with severe sepsis or septic shock: A case control study. Journal of Critical Care 2019; 55(2020): 157 – 62.

Thomas A. Mavrakanas & David M. Charytan. Cardiovascular complications in chronic dialysis patients. Curr Opin Nephrol Hypertens 2016; 25(6): 536 – 44.

Wong et al. Interdialytic Weight Gain: Trends, Predictors, and Associated Outcomes in the International Dialysis Outcomes and Practice Patterns Study (DOPPS). American Journal of Kidney Diseases 2017; 69(3): 367 – 79.

ณัฐวรา ทัศบุตร. รูปแบบการป้องกันภาวะน้ำเกินในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารสมาคมพยาบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2556; 31(4): 89 – 96.

Kanfer, F.H., & Gaelick, L. Self-management methods. In F.H. Kanfer & A. Goldstein (Eds.), Helping people change: A textbook of methods. New york: Pergamoon Press; 1991.

Kara B, Health beliefts Related to Salt-Restricted Diet in Patients on Hemodialysis: Psychometric Evaluation of the Turkish Version of the Belieft About Dietary Complication Scale. J Transcult Nurs 2014; 25(3): 256 – 64.

ธนัยรัตน์ รุ้งพราย. ผลของโปรแกรม การจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวต่อภาวะน้ำเกินในผู้สูงอายุโรคไตวายเรื้อรังที่รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2560.

รัตนา เสือสุ่ม และรัชนี นามจันทรา. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการควบคุมน้ำต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำ และการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักตัวในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารสภาการชาดไทย 2561; 11(2): 188 – 203.

สุธาร จันทะวงศ์ แดนไกล ปุริมาตรและ ก้านเตย ตันทวีวงศ์. การใช้ยาที่ไม่เหมาะสมในผู้สูงวัยที่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2561.

กานต์ธีรา ชัยเรียบ ภัทรินทร์ กิตติบุยญาคุณและ วนรัตน์ อนุสรณ์เสงี่ยม. การพัฒนารูปแบบการบริบาลทางเภสัชกรรมร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการรักษาโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมทั้งในโรงพยาบาลและการดูแลที่บ้าน. วารสารเภสัชกรรมไทย 2560; 10(2): 324 – 36.

สุธาสินี เรียมจันทร์และเสาวลักษณ์ พุฒแก้ว. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรม การควบคุมโรคแลและระดับครีเอตินินในเลือดในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. พยาบาลสาร 2561; 39(2): 14 – 22.

จุฑามาศ เทียนสะอาด สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรมและ นพวรรณ พินิจขจรเดช. การรับรู้ภาระจากอาการ ภาระค่าใช้จ่าย กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. Rama Nurs J 2560; 60 – 77.

Christopher W. Mclntyre & Fabio R Salerno. Diagnosis and Treatment of Intradialytic Hypotension in Maintenance Hemodialysis Patients. Clin J Am Nephorl 2018; 13: 486 – 89.

Costa, R.H.S., et al. Complications in renal patients during hemodialysis sessions and nursing interventions J. res fundam care 2015; 7(1): 2137 – 46.

Dahdaleh, S., & Malhotra, P. Treatment of Central Nervous System Complications of Renal Dialysis and Transplantation. Current treatment options in neurology 2019; 21(3): 13.

Donciu, Mihaela Dora, Luminita Voroneanu, & Adrian Covic. “Volume overload in CKD: pathophysiology, assessment techniques, consequences and treatment.” Cardio-Renal Clinical Challenges. Springer Cham 2015: 119 –44.

ศรินยา พลสิงห์ชาญและคมวัฒน์ รุ่งเรือง.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพลังสุขภาพจิตของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ 2561; 10(1): 129 – 41.

ธนันดา ตระการวานิชและอรอัชฌา ศิรมงคลชัยกุล. คู่มือสำหรับประชาชนทำอย่างไรไตไม่วาย.กรุงเทพฯ: บี.เอ็น.เอส.แอดวานซ์; 2560.

สุนิสา สีผม. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองเพื่อชะลอความเสื่อมของไตต่อความรู้ พฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิต. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก 2557; 25(1): 17 – 31.

Glasgow, R.E., Emont, S., & Miller, D.C. Assessing delivery of the five A’s for patient-centered counseling. Health Promotion International 2006; 21(3): 245 – 55.

ฐิติกา พุทธิผล. การพัฒนาโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมควบคุมภาวะน้ำเกินของผู้ดูแลและผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม : การศึกษานำร่อง 2562. รายงานการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 20 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2562; 943 – 54.

เสาวนีย์ ชนะพาล. ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังระยะก่อนบำบัดทดแทนไต [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2560.

วลี กิตติรักษ์ปัญญา นิภาวรรณ สามารถกิจและเขมารดี มาสิงบุญ. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองร่วมกับการจัดการทางคลินิกต่อพฤติกรรมการจัดการตนเอง น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น และภาวะความดันโลหิตต่ำขณะฟอกเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารสภาการพยาบาล 2556; 28(2): 109 – 22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-28