ความรู้ การรับรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
คำสำคัญ:
ความรู้, การรับรู้, การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรู้ การรับรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (2) เปรียบเทียบความแตกต่างของความรู้ การรับรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันตัวจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษาจำแนกตามเพศและคณะ (3) ศึกษาอำนาจการทำนายการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาภาคปกติจันทร์ถึงศุกร์ ชั้นปีที่ 2 ถึง 5 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 717 คนที่มีสัญชาติไทยและมีความยินดีในการตอบแบบสอบถามใน Google form เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ได้ค่า IOC 0.67-1.00 ความรู้ มีค่า KR-20 เท่ากับ 0.70 แบบสอบถามด้านการรับรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าครอนบาค 0.74 และ 0.83 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับปานกลาง การรับรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคในระดับสูง การรับรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคของเพศชายและเพศหญิงแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และด้านสังคมศาสตร์มีความรู้ การรับรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การรับรู้ การแถลงของ ศบค. เพศ และคณะสามารถทำนายการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคได้ร้อยละ 9.8 สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ สมการณ์พยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Y = 3.208 + 0.248 X1+ 0.089 X2 + 0.081 X3+0.023X4สมการณ์พยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานZr = 0.265Z1 +0.117Z2 + 0.091Z3-0.088Z4 ผลจากการศึกษาพบว่านักศึกษายังมีความรู้และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ยังไม่ถูกต้อง มหาวิทยาลัยจึงควรมีการให้ความรู้และเน้นย้ำการปฏิบัติตัวตาม 5 มาตรการหลักในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
References
World Health Organization. COVID-19 Weekly Epidemiological Update. [online]. (2020). [cited October 27, 2020]. Available from : C:/Users/ Administrator/Downloads/weekly-epi-update-11%20(2).pdf.
ข่าวไทยพีบีเอส. ธนาคารโลก ชี้ COVID-19 ทำเศรษฐกิจโลกเสียหายหนักรอบ 150 ปี. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก : https://news. thaipbs.or.th/content/293470.
ศบค. ศบค. แถลงสถานการณ์ไวรัวโควิด-19 ประจำวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2563. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก : youtube.com/ watch?v=IU55M2FOwIU.
ราชกิจจานุเบกษา. ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารงานราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1). [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go. th/DATA/PDF/2563/E/069/T_0010.PDF
กรมควบคุมโรค. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สถานการณ์ในประเทศไทย. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก : https://ddc.moph.go.th/ viral pneumonia / index.php.
Honarvar, B., Lankarani, K., Kharmandar, A. et al. Knowledge, attitudes, risk perception, and practices of adults toward COVID-19 : A population and field-based study from Iran. International Journal of Public Health 2020; 65 : 731– 39.
Zhong, B., et al. Knowledge, attitude, and practices towards COVID-19 among Chinese residents during the rapid rise period of the COVID-19outbreak : A quick online cross-sectional survey. Int. J. Biol. Sci 2020; 16(10): 1745 – 52.
Kebede, Y., Yitayih, Y. andBirhanu, et al. A. Knowledge, perceptions and preventive practices towards COVID-19 early in the outbreak among Jimma university medical center visitors, Southwest Ethiopia. PLOS ONE. [online]. (2020). [cited April3, 2020]. Available from : https://doi.org/10.1371/ journal.pone.0233744.
Becker, M.H. The health belief model and sick role behavior. Health Education Monographs 1974; 2(4) : 409 – 19.
กองสุขศึกษา. การดูแลตนเองและครอบครัวด้วยสุขบัญญัติ ป้องกันโรคและภัยสุขภาพ COVID-19. นนทบุรี. สำเนาอัด; 2563.
Best, J.W. Research in education. 3rd. Engle Wood Cliff :N.J.Prentice Hall; 1977.
บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ. พฤติกรรมการใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร.วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก 2557; 32(2): 1–24.
Abdelhafiz, A.S. , Mohammed, Z., Ibrahim, M.E.,et. al. Knowledge, perception, and attitude of Egyptians towards the novel coronavirus disease (COVID-19). Journal of Community Health. [online]. (2020). [cited April 21, 2020]. Available from : https://doi.org/10.1007/ s10900-020-00827-7.
Hager, E., Odetokun, I.A., Bolarinwa, O., et al. Knowledge, attitude, and perception towards the 2019 Coronavirus pandemic : A bi-national survey in Africa. PLOS ONE. [online]. (2020). [cited October 7, 2020]. Available from : https://doi.org/10.1371/ journal. pone.0236918.
Narayana, G., Pradeepkumar, B., Ramaiah, J.D., et al. Knowledge, perception, and practice towards COVID-19 pandemic among general public of India : A cross-sectional online survey. Current Medicine Research and Practice 2020; 10 : 153– 9.
Gohel, K.H., Patel, P.B., Shah, P.M., et al. Knowledgeand perception about COVID-19 among the medical and allied health science students in India : An online cross-sectional survey. Clinical Epidemiologyand Global Health . [online]. (2020). [cited October7, 2020]. Available from : https://doi.org/10.1016/ j. cegh.202007008.
Alzoubi, H., Alnawaiseh, N., Lubad, M.A., et al. Covid-19 knowledge, attitude and practice among medical and non-medical university students in Jordan. J Pure Appl Microbiol. [online]. (2020). [cited October 7, 2020].Available from : https://doi.org/ 10.22207/JPAM.14.1.04
ธานี กล่อมใจจรรยา แก้วใจบุญและทักษิกา ชัชวรัตน์. ความรู้และพฤติกรรมของประชาชนเรื่องการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019. วารสารการพยาบาลการสาธารณสุขและการศึกษา 2563; 21(2) : 29 – 39.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. หน้ากากผ้า” ใช้ซ้ำ ซัก นำกลับมาใช้ใหม่. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก : http://www. psub.psu.ac.th/ broadcast/archives/3104.
Kadoya, Y., Zen, K., Wakana, N. et al. Knowledge, perception, and level of confidence regarding COVID-19 care among healthcare workers involved in cardiovascular medicine :A web-based cross-sectional survey in Japan. Journal of Cardiology. [ online]. (2020). [cited October 7, 2020]. Available from : https://doi.org/10.1016/ j.jjcc. 2020.07.029.
Guan, W., Ni, Z., Liang, W. et al. Clinical characteristics of coronavirus disease 2019 in China. The New England Journal of Medicine.[online]. (2020). [cited October 7, 2020]. Available from : https://www.nejm.org/ doi/full/10.1056/ NEJMoa2002032.
Zegarra-Valdivia, J.A., Chino-Vilea, B.N., & Ames-Guerrero, R. Knowledge, perception and attitudes in regard to COVID-19 pandemic in Peruvian population. [online]. (2020). [cited September 20 2020].Available from : https:// psyarxiv.com.
พรรณพิมล วิปุลากร. คนแห่ใส่แต่ เฟซชิลด์ แต่ไม่ใส่หน้ากากอนามัย สธ. เตือนไม่ป้องกัน COVID -19. [online]. (2563). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก : https://covid-.kapook.comview225075. html.
มรุต จิรเศรษฐสิริ. เริ่มทดลอง “ฟ้าทะลายโจร” รักษาโควิด-19 ในคน. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 11 ตุลาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https:/gronline.com/qol/ detail/9630000066428.
Dryhurst, A., Schneider, C.R., Kerr, J. et al. Risk perceptions of COVID-19 around the world. Journal of Risk Research. [online]. 2020. [cited October 7, 2020]. Available from : https://doi.org/10.1080/13669877.2020. 1758193.
Wolf, M.S., Serper, M., Posasnick, L et al. Awareness, attitudes, and actions related to COVID-19 among adults with chronic conditions at the onset of the U.S. outbreak. [online]. (2020). [cited October 7, 2020]. Available from : https:// doi.org/10.7326/ M20-1239.
Kebede, Y., Yitayih, Y., Birhanu, Z. et al. Knowledge, perceptions and preventive practices towards COVID-19 early in the outbreak among Jimma university medical center visitors, Southwest Ethiopia. [online]. (2020). [cited October 7, 2020].Available from : https:// doi.org/10.1371/ journal.pone. 0233744.
Bhagavathula, A.S., Aldhaleei, W., Jagdish, J.R. et al. Knowledge, attitude, perceptions and practicetoward COVID-19. [online]. (2020). [cited September 20 2020]. Available from : https://doi.org/10.1101/ 2020.06. 21.20138891.
Cori, L., bIANCHI, f., Cadum, E. et al. Risk perception and COVID-19. [online]. 2020. [cited September 20, 2020]. Available from : https://doi:10.3390/ijerph17093114.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว