ความเครียดและการจัดการความเครียดในสตรีที่เป็นความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ชนิดรุนแรง ที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล: บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
คำสำคัญ:
ความเครียด, การจัดการความเครียด, ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ชนิดรุนแรง, บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์บทคัดย่อ
สตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์มักมีความเครียดที่ระดับสูง โดยเฉพาะคนที่ต้องนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล เนื่องจากรับรู้ว่าอาการของโรครุนแรงที่อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อตนเอง ได้แก่ รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะชัก เลือดออกในสมอง และเสียชีวิต ภาวะแทรกซ้อนต่อทารกในครรภ์ ได้แก่ ภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ คลอดก่อนกำหนด ขาดออกซิเจนในครรภ์ และเสียชีวิตในครรภ์ สตรีตั้งครรภ์ต้องสูญเสียบทบาทที่เคยทำเมื่ออยู่ที่บ้าน เช่น บทบาทภรรยา และบทบาทมารดา รวมทั้งเผชิญกับบุคคลและแผนการรักษาที่ไม่คุ้นเคย การถูกจำกัดกิจกรรม และผลข้างเคียงจากการรักษา จากสถานการณ์ดังกล่าว ถือได้ว่าเป็นภาวะวิกฤตในชีวิต ทำให้เกิดความเครียดระดับสูงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งความเครียดทำให้อาการของโรคความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์รุนแรงมากขึ้น และมีผลกระทบทั้งต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ รวมทั้งครอบครัว ดังนั้นพยาบาลผดุงครรภ์ต้องให้ความสำคัญอย่างมากเกี่ยวกับความเครียดและ การจัดการความเครียดในสตรีที่เป็นความดันโลหิตสูงชนิดรุนแรงขณะตั้งครรภ์ ที่นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ด้วยการส่งเสริมความสุขสบาย ด้านร่างกาย ลดความเครียดด้านจิตใจ ลดปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นความเครียดและระดับความดันโลหิต ส่งเสริมการได้รับความรู้เรื่อง โรครวมทั้งส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคม เพื่อลดระดับความเครียด และป้องกันผลกระทบจากความเครียดที่จะเกิดขึ้น
References
นันทพร แสนศิริพันธ์. การพยาบาลผดุงครรภ์ :สตรีที่มีภาวะแทรกซ้อน. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่ :มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2560.
Cunningham FG, Leveno KJ, Bloom SL, Spong CY, Dashe JS, Hoffman BL, et al. Williams Obstetrics. 25th ed. New York: McGraw Hill; 2018.
Cunningham FG, Leveno KL, Bloom ST, Spong CY, Dashe JS, Hoffman BL, et al. Hypertensive disorders in pregnancy. Williams Obstetrics. 24th ed. Boston: McGraw Hill; 2014.
กรมอนามัย. สถิติสาธารณสุขอัตราส่วนการตายมารดา. กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก สำนักส่งเสริมสุขภาพกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2565.
พรรณพิไล ศรีอาภรณ์. การพยาบาลสตรีที่มีความผิดปกติด้านจิตใจในระยะหลังคลอด. ใน นันทพร แสนศิริพันธ์ และฉวี เบาทรวง (บรรณาธิการ). การพยาบาลและการผดุง ครรภ์: สตรีที่มีภาวะแทรกซ้อน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2560.
Sivakumar S. Effect of Pregnancy Induced Hypertension on Mothers and their Babies. The Indian Journal of Pediatrics 2007; 74(7): 623–25.
Chantanamongkon K. Nursing care for pregnant women with medical, gynecological and surgical complications. 2nd ed. Samut Prakan: Jamjuree production; 2012.
Maloni JA, Kutil RM. Antepartum support group for women hospitalized on bed rest. MCN 2000; 25(4): 204 – 10.
ACOG Committee Opinion No. 767: Emergent Therapy for Acute-Onset, Severe Hypertension During Pregnancy and the Postpartum Period. Obstet Gynecol 2019; 133(2): 174 – 80.
Borders AEB, Grobman WA, Amsden LB, Holl JL. Chronic stress and low birth weight neonates in a low-income population of women. Journal of Obstetrics and Gynecology 2007; 109: 331 – 38.
Giurgescu C, Penckofer S, Maurer MC, Bryant FB. Impact of uncertainly, social support, and prenatal coping on the psychological well-being of high-risk pregnancy woman. Nursing Research 2006; 55(5): 356 – 65.
Neuman, B, Fawcett J. The Neuman Systems Model. 5th Ed.. Boston, DC: Pearson Education, Inc; 2011.
Giurgescu C., et al. Impact of uncertainly, social support, and prenatal coping on the psychological well- being of high-risk pregnancy woman. Nursing Research 2006; 55(5): 356 – 65.
วราภรณ์ คงสุวรรณ และ สิริวรรณ คงทอง. ประสบการณ์ภาวะเศร้าโศกของคู่สมรสไทยพุทธของผู้เสียชีวิตจากการเจ็บป่วยวิกฤต [ปริญญานิพนธ์ ปริญญาพยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต]. สงขลา:มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์; 2556.
Thadakant S, Pruksacheva T, Jaovisidha A. Gestational Diabetes and/or Hypertension Toward Themselvesand Their Fetuses. Ramathibodi Nursing Journal 2010; 16(2): 185 – 99.
Suzuki S, Shinmura H, Kato M. Maternal Uncontrolled Anxiety Disorders Are Associated with the Increased Risk of Hypertensive Disorders in Japanese Pregnant Women. Journal of Clinical Medicine Research 2015;7(10): 791 – 94.
นิสาชล สุขแก้ว, วรางคณา ชัชเวช และสุรีย์พร กฤษเจริญ. The Southern College Network Journal of Nursing and Public Health 2021; 8(3): 32 – 48.
Maitreechit D, Sangin, S, Siriarunrat S. Relationships Between Health Care Behaviors, Anxiety, Social Support and Quality of Life among Pregnant Women with Pregnancy Induced Hypertension. Chula Med Bull 2020; 2(1): 39 – 47.
Hussian MH, Fatin A, Saffar AA. Self-Care Management of Pregnancy Induced Hypertension for Pregnant Women Attending Primary Health Care Centers at Kirkuk City. Journal for Nursing Sciences 2016; 6(2): 1 – 10.
Chamraksa P, Triprakong S. Patients and nurses perception on nurses information given in Songklanagarind hospital. Songklanagarind Journal of Nursing 2011; 31(3): 27 – 40.
Jitnawee W, Sagultep B, Vutichan D, Sungsuwan B. The Effect of Discharge Planning in Maternal Postpartum Severe Preeclampsia. Region 11 Medical Journal 2017; 31(1): 166 – 70.
Sonmongkol S. Health Perception, Social Support and Self-Care Behaviors among Adolescent Pregnant in Phuket Province. Region 11 Medical Journal 2016; 30(2): 105 – 14.
Sheppard JP, Schwartz CL, Tucker K, McManus RJ. Modern Management and Diagnosis of Hypertension in the United Kingdom: Home Care and Self-Care. Annals of Global Health 2016; 82(2): 274 – 87.
เบญจวรรณ เอกะสิงห์. ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและวิธีการเผชิญความเครียดของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลมารดาและทารก]. มหาวิทยาลัยมหิดล; 2541.
Lapchem P. Relationships between selected factors, uncertainty in illness and parturition social support and fear of childbirth among high risk primiparous women [Unpublished master’s thesis]. Bangkok: Mahidol University; 2007.
Pollock JD, Makaryus AN. Physiology, Cardiac Cycle. In Stat Pearls [Internet]. Stat Pearls Publishing; 2021.
ACOG Committee on Obstetric Practice. ACOG Practice Bulletin No. 222: Gestational Hypertension and Preeclampsia. Obstetrics & Gynecology 2020; 135(6): 237 – 60.
Jaikwang O. The development of clinical practice guideline for discomfort management in pregnant woman with hypertension severe pregnancy Udon Thani Hospital [dissertation]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2011.
Chairob M. Effects of childbirth preparation on family parcipitation with pain level during first stage of labour. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2009.
พรรณี ฉุ้นประดับ. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมการเผชิญความเครียดในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง [ปริญญานิพนธ์ ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล: กรุงเทพฯ; 2538.
Anansawas S. Nursing Obstetrics. Anansawas S, editor. Nonthaburi: Yutharin; 2017.
Tongprateep T. Spiritual care: Dimensions of Nursing. Bangkok: V print; 2009.
Srijaiwong S, Wongyai J. Stress and coping behavior in high risk pregnant women. Boromarajonani College of Nursing Uttaradit; 2008.
Anansawas S. Nursing Obstetrics. Anansawas S, editor. Nonthaburi: Yutharin; 2017.
Logsdon MC, Davis DW. Social and professional support for pregnant and parenting women. The American journal of maternal child nursing 2003; 28(6) : 371 – 6.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว