Continuum of Care Management for Victims and Families Assaulted in the Social Unrest, Southern Thailand: A Situation Analysis

Main Article Content

Wipa Sae-Sia
Praneed Songwathana
Sudsiri Hirunchuha
Hathairat Sangchan

Abstract

Purpose: To analyze the existing continuum of care services and its system for patients who had been assaulted from terrorism in the unrest areas of three southern border provinces, Thailand.

Design: Qualitative design.

Methods: The participants were 67 health care providers working in the unrest areas of three southern border provinces, and 12 patients and their family caregivers who had been assaulted in the unrest situation. Continuum of care management data were collected by focus group interviews, individual interviews, and observation plus interviews during home visits. In addition, 44 patients’ charts were reviewed to identify some issues related to care management. Data were analyzed by content analysis.

Main findings: Both physical and psychological problems were assessed for all victims since admission. The victims received continuum of psychological support incorporated with physical care through home visits. The care system provided was more hospital-based, which remained poor coordinated or communicated among the care providers. The barriers in the current care system were related to the inadequate competency of health care providers, lack of specific discharge planning for these victims resulting in poor communication and transfer of information between health care providers working in each phase of care.

Conclusion and recommendations: These results could be used for further development of the continuum of nursing care management system to make it more congruent with the current situation in order to enhance the outcomes for these victims.

 

 

ระบบการจัดการดูแลต่อเนื่องสำหรับผู้บาดเจ็บและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบในภาคใต้: การวิเคราะห์สถานการณ์

วิภา แซ่เซี้ย, ประณีต ส่งวัฒนา, สุดศิริ หิรัญชุณหะ, หทัยรัตน์ แสงจันทร์


บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและระบบการดูแลต่อเนื่องในผู้บาดเจ็บจากสถานการณ์ความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ

วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางด้านสุขภาพที่ปฏิบัติงานในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้จำนวน 67 ราย และผู้บาดเจ็บรวมทั้งผู้ดูแลที่เป็นสมาชิกครอบครัวจากเหตุการณ์ความไม่สงบจำนวน 12 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์กลุ่มและรายบุคคล รวมทั้งการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์ในระหว่างการเยี่ยมบ้าน นอกจากนี้เก็บข้อมูลการรักษาจากรายงานผู้ป่วยจำนวน 44 ราย ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา

ผลการวิจัย: ผู้ป่วยทุกรายจะได้รับการประเมินสภาพทางกายและจิต ตั้งแต่ระยะแรกเมื่อรับไว้ในโรงพยาบาล โดยได้รับการเยียวยาทางจิตควบคู่กับทางกายอย่างต่อเนื่องโดยการเยี่ยมบ้าน รูปแบบการดูแลจะเน้นการดูแลที่โรงพยาบาลเป็นหลัก ซึ่งยังคงมีปัญหาในการประสานงานและการสื่อสารของทีมสุขภาพ อุปสรรคในระบบการดูแลจะเกี่ยวข้องกับสมรรถนะของบุคลากรทางด้านสุขภาพ รวมทั้งยังไม่มีแนวทางการวางแผนจำหน่ายสำหรับการดูแลผู้บาดเจ็บที่ชัดเจน ส่งผลต่อการสื่อสารและส่งต่อการดูแลระหว่างทีมสุขภาพในแต่ละระยะของการดูแล

สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาสามารถนำข้อมูลไปพัฒนาระบบการดูแลอย่างต่อเนื่องที่สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันเพื่อเพิ่มผลลัพธ์การดูแลสำหรับผู้บาดเจ็บจากสถานการณ์ความไม่สงบ


คำสำคัญ: การดูแลต่อเนื่อง ผู้บาดเจ็บ สถานการณ์ความไม่สงบ การวิเคราะห์สถานการณ์

Article Details

How to Cite
Sae-Sia, W., Songwathana, P., Hirunchuha, S., & Sangchan, H. (2014). Continuum of Care Management for Victims and Families Assaulted in the Social Unrest, Southern Thailand: A Situation Analysis. Nursing Science Journal of Thailand, 32(1), 7–14. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/26523
Section
Research Papers
Author Biographies

Wipa Sae-Sia, Prince of Songkla University

Faculty of Nursing

Praneed Songwathana, Prince of Songkla University

Faculty of Nursing

Sudsiri Hirunchuha, Walailak University

School of Nursing

Hathairat Sangchan, Prince of Songkla University

Faculty of Nursing