Factors Related to Early Physiological Recovery in Patients after a Conservative Treatment of Foot and Ankle Injury with Short Leg Cast

Main Article Content

Pitawan Kulasa
Wallada Chanruangvanich
Orapan Thosing
Kongkhet Riansuwan

Abstract

Abstract

Purpose: To study the relationship between body mass index, health perception, and social support with the physiological recovery of patients with foot and ankle fractures after a cast is provided.

Design: A descriptive correlational research.

Methods: The sample was 85 adult patients diagnosed with foot and ankle fractures from 2 hospitals in Bangkok. Data were collected by using: 1) the demographic characteristic records, 2) the patient history records, 3) the Body Mass Index (BMI), 4) the Health Perception Questionnaire, 5) the Social Support Questionnaire, and 6) the Lower Extremity Functional Scale (LEFS). Data were analyzed through descriptive statistics and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficients.

Main findings: The mean BMI level was overweight (M = 24.15, SD = 4.82). While the mean score of health perception and the overall social support were at a good level, M = 129.60, SD = 14.77 and M = 69.28, SD = 11.73, respectively, the mean score of lower extremity’s function was 43.52 (SD = 9.62). Obviously, body mass index had statistically significant negative correlated with early physiological recovery (r = - .31, p < .05). On the other hand, the health perception and social support
had statistically significant positive correlated with early physiological recovery (r = .46, r = .28; p < .05).

Conclusion and recommendations: Nurses should promote the proper health perception and social support and suggest patients with foot and ankle fractures to perform activities appropriately in order to early recover after a cast is provided.



ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวด้านร่างกายระยะแรกของผู้ป่วยกระดูกเท้าและข้อเท้าหัก หลังได้รับการรักษาด้วยการเข้าเฝือก

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีมวลกาย การรับรู้ภาวะสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคมกับการฟื้นตัวด้านร่างกายของผู้ป่วยกระดูกเท้าและข้อเท้าหัก หลังได้รับการรักษาด้วยการเข้าเฝือก

รูปแบบการวิจัย: ศึกษาเชิงสหสัมพันธ์

วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่กระดูกเท้าและข้อเท้าหัก และรักษาด้วยการเข้าเฝือก กลุ่มตัวอย่างมี จำนวน 85 รายจากโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 2 แห่ง โดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบบันทึกประวัติการเจ็บป่วย การประเมินดัชนีมวลกาย แบบวัดการรับรู้ภาวะสุขภาพ แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินการทำหน้าที่ของขาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธ์สิ หสัมพันธ์ของเพียร์สัน

ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างมีดัชนีมวลกายในระดับน้ำหนักเกิน (M = 24.15, SD = 4.82) มีการรับรู้ภาวะสุขภาพ โดยรวมอยู่ในระดับดี (M = 129.60, SD = 14.77) ได้รับการสนับสนุนทางสังคมโดยรวมในระดับมาก (M = 69.29, SD = 11.73) มีค่าเฉลี่ยการทำหน้าที่ของขาเท่ากับ 43.52 (SD = 9.62) ค่าดัชนีมวลกายมีความสัมพันธ์ทางลบกับ
การฟื้นตัวด้านร่างกายระยะแรกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = - .31, p < .05) การรับรู้ภาวะสุขภาพและการสนับสนุนทางสัมคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการฟื้นตัวด้านร่างกายระยะแรกอย่างมีระยะสำคัญทางสถิติ (r = .46, r = .28; p < .05)

สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการรับรู้ภาวะสุขภาพที่ถูกต้อง และได้รับการสนับสนุนทางสังคมอย่างต่อเนื่อง โดยให้คำแนะนำการทำกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้มีการฟื้นตัวที่ดียิ่งขึ้นภายหลังเข้าเฝือก

คำสำคัญ: การบาดเจ็บกระดูกเท้าและข้อเท้าหัก การฟื้นตัวด้านร่างกาย การเข้าเฝือก

Article Details

How to Cite
Kulasa, P., Chanruangvanich, W., Thosing, O., & Riansuwan, K. (2016). Factors Related to Early Physiological Recovery in Patients after a Conservative Treatment of Foot and Ankle Injury with Short Leg Cast. Nursing Science Journal of Thailand, 34(3), 106–115. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/77602
Section
Research Papers