Influence of Knowledge, Attitude, Communication about Sex, Substance Use, and Sexual Arousal Media on Sexual Relation in Secondary School Female Students

Main Article Content

Thitiya Kawila
Nanthana Thananowan
Chaweewan Yusamran
Phuangphet Kaesornsamut

Abstract

Abstract

Purpose: To determine the predictive power of knowledge, attitude, communication about sex, substance use, and sexual arousal media on sexual relation in secondary school female students.

Design: Predictive correlational design.

Methods: The sample was 150 secondary school female students in Phayao Province. Data were collected with the following questionnaires: Demographic, Sex Education Assessment Form, Attitude towards Sexual Intercourse, Communication about Sex in Family, Substance Use, Sexual Arousal Media, and Sexual Relation. Descriptive statistics and logistic regression were used to analyze the data.

Main findings: Result showed that 5.3% of the sample had sexual intercourse. Communication about sex and substance use could explain 39% of variance in sexual relation in secondary school female students (R2 = .39, p < .05). Communication about sex (OR = .74; 95%CI = .59 - .92) and substance use (drinking) (OR = 6.26; 95%CI = 1.09-35.98) are significant predictors of sexual
relation (p < .05).

Conclusion and recommendations: Nurses should promote communication about sex between mothers and female students because they are the same gender and understand each other more than the others. Moreover, nurses should provide knowledge about the negative impacts of drinking on sexual relation among female students.

อิทธิพลของความรู้ ทัศนคติ การสื่อสารเรื่องเพศ การใช้สารเสพติด และสื่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศต่อการมีเพศสัมพันธ์ในนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อการศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้ ทัศนคติ การสื่อสารเรื่องเพศ การใช้สารเสพติด และสื่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศต่อการมีเพศสัมพันธ์ในนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

รูปแบบการวิจัย: ความสัมพันธ์เชิงทำนาย

วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดพะเยา จำนวน 150 คน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา แบบสอบถามทัศนคติต่อการเพศสัมพันธ์แบบวัดการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัว แบบสอบถามการใช้สารเสพติด แบบสอบถามเรื่องสื่ออื่น
กระตุ้นอารมณ์ทางเพศ และแบบสอบถามการมีเพศสัมพันธ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติถดถอยโลจิสติก

ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 5.3 ยอมรับว่ามีเพศสัมพันธ์ การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัวและการใช้
สารเสพติดสามารถร่วมกันทำนายการมีเพศสัมพันธ์ได้ร้อยละ 39 (R2 = .39, p < .05) ทั้งนี้การสื่อสารเรื่องเพศ
ในครอบครัว (OR = .74, 95%CI = .59 - .92) และการใช้สารเสพติด (ดื่มสุรา) (OR = 6.26, 95%CI = 1.09-35.98) สามารถทำนายการมีเพศสัมพันธ์ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)

สรุป และข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรส่งเสริมให้มีการสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัวโดยเฉพาะการสื่อสารระหว่างมารดากับนักเรียนหญิงเนื่องจากเป็นเพศเดียวกันจึงมีความเข้าใจกันมากกว่า เพศตรงข้าม นอกจากนี้พยาบาลควรให้
ความรู้เกี่ยวกับผลเสียของการดื่มสุราต่อการมีเพศสัมพันธ์ในนักเรียนหญิง

คำสำคัญ: อิทธิพล การสื่อสาร สารเสพติด การมีเพศสัมพันธ์ นักเรียนหญิง

 

Article Details

How to Cite
Kawila, T., Thananowan, N., Yusamran, C., & Kaesornsamut, P. (2017). Influence of Knowledge, Attitude, Communication about Sex, Substance Use, and Sexual Arousal Media on Sexual Relation in Secondary School Female Students. Nursing Science Journal of Thailand, 35(2), 74–85. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/94201
Section
Research Papers