การควบคุมคุณภาพการถ่ายภาพรังสีช่องท้องผู้ป่วยที่มีอาการปวดท้องเฉียบพลัน
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยปวดท้องเฉียบพลัน, ชุดถ่ายภาพรังสีช่องท้อง, การควบคุมคุณภาพถ่ายทางรังสีบทคัดย่อ
ปัจจุบันการถ่ายภาพรังสีช่องในผู้ป่วยที่มีอาการปวดท้องเฉียบพลันมีจำนวนมากขึ้น ผู้ป่วยที่มารับการรักษาจำเป็นจะต้องได้รับบริการที่ถูกต้อง รวดเร็วและแม่นยำเพื่อให้แพทย์ผู้ทำการรักษาสามารถวินิจฉัยโรคได้และทำการรักษาผู้ป่วยให้มีความปลอดภัย การควบคุมคุณภาพของชุดภาพถ่ายทางรังสีช่องท้องจึงเป็นหัวใจสำคัญอย่างมาก เพื่อให้ได้ภาพที่มีคุณภาพซึ่งพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของภาพประกอบไปด้วยปัจจัยหลักคือ ผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการถ่ายภาพรังสี และเครื่องมือที่ใช้ในการถ่ายภาพรังสี และในปัจจัยหลักเหล่านี้มีปัจจัยย่อยๆ อีกหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของภาพถ่ายทางรังสีช่องท้อง เช่น สภาวะของผู้ป่วย ประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่และสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการถ่ายภาพดังนั้นการควบคุมคุณภาพปัจจัยทั้งหมดที่พบจะช่วยพัฒนาคุณภาพของภาพถ่ายทางรังสีได้และผู้ป่วยที่มารับบริการถ่ายภาพรังสีของชุดภาพรังสีช่องท้องจะได้รับบริการที่รวดเร็ว แม่นยำและปลอดภัย แพทย์ผู้ทำการรักษาสามารถวินิจฉัยโรคจากภาพถ่ายทางรังสีได้อย่างถูกต้อง แม่นยำและรวดเร็ว สามารถรักษาผู้ป่วยให้กลับมามีสุขภาพที่ดี
Downloads
References
American College of Radiology (ACR). ACR Appropriateness Criteria® Acute Nonspecific Abdominal Pain. [Internet]. 2020. [cited 2024 January 10]. Available from: https://acsearch.acr.
org/docs/69429/Narrative/
Gundry TR, Burnside ES. Quality improvement in radiology: basic principles and tools required for success. Radiographics. 2018; 38(6): 1827-1837.
สมหมาย กันทะเมืองลี้. การวิเคราะห์ภาพดิจิตอลทางรังสีที่ไม่สามารถนำไปวินิจฉัยโรคได้ (reject image) โรงพยาบาลนครปฐม. วารสารสุขภาพภาคประชาชน. 2560; 12(4): 28-35.
Bushberg JT, Seibert JA, Leidholdt Jr EM, Boone JM. The Essential Physics of Medical Imaging. Lippincott Williams & Wilkins. 2017.
American College of Radiology. ACR–AAPM–SIIM practice guideline for determination of the imaging dose in digital radiology. Journal of the American College of Radiology. 2016; 13(2): 184-197.
Johns HE, Cunningham JR. The physics of radiology. Charles C Thomas Publisher. 1983.
Suetens P. Fundamentals of medical imaging. Cambridge University Press. 2018.
Ascenti G, Mazziotti S, Lamberto S, Bottari A, Vinci S, Scribano E. MDCT assessment of acute abdomen in patients with gastrointestinal symptoms. European radiology supplements. 2017; 27(3): 1338-1362.
Gonzalez RC, Woods RE, Eddins SL. Digital image processing using MATLAB. Gatesmark Publishing. 2017.
Jain AK. Fundamentals of digital image processing. Prentice-Hall, Inc. 1989.
Suwan-o-pas S, Suwanpradit P, Arjhansiri K, Khamwan K. Optimization of radiation dose and image quality in abdominal radiography using digital mobile x-ray system. Thai J Rad Tech. 2018;43(1):13-20.
Suwanpradit P, Wongvit-olan S, Kongthana O, Komprasert W, Luechabhun C, Ariyachaipanich A, Arjhansiri K, Apipunyasopon L. The determination of the radiation dose and image quality for abdominal radiography using a digital X-ray machine without an automatic exposure control system at King Chulalongkorn Memorial Hospital. Thai J Rad Tech 2023;48(1):52-59

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สมาคมรังสีเทคนิคแห่งประเทศไทย

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมรังสีเทคนิคแห่งประเทศไทย (The Thai Society of Radiological Technologists)
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมรังสีเทคนิคแห่งประเทศไทยและบุคคลากรท่านอื่น ๆในสมาคม ฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว