Model of Promotion Self-esteem in the Elderly by Community Participation Case study at Tad thong Sub-district, Meung district, Yasothon Province
Keywords:
The elderly, Community Participation, Self-esteemAbstract
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการณ์ด้านความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุในชุมชน และรูปแบบการสร้างเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เขตเทศบาลตำบลตาดทอง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร โดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบเชิงผสานวิธี (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในชุมชน จำนวน 203 คน และผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key informants) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และแนวทางการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา การศึกษาพบว่า การเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ อยู่ในระดับปานกลาง ( = 2.75, S.D. = 0.25)ระบบในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน พบว่า (1) เทศบาลมีนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุ โดยจัดสวัสดิการสังคม การสงเคราะห์เบี้ยยังชีพ (2) ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนกาดรำเนินงาน (3) รูปแบบในการสร้างเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุในชุมชนที่สร้างตามกรอบแนวคิดการสร้างความสุข 5 มิติ สำหรับผู้สูงอายุ รูปแบบกิจกรรมมีดังนี้ ด้านที่ 1 : สุขสบาย การออกกำลังกาย การประกวดผู้สูงอายุที่มีสุขภาพี ด้านที่ 2 : สุขสนุก การร้อยเพลง การรำ การเต้น ด้านที่ 3 : สุขสง่า สูงวัยอาสา ด้านที่ 4 : สุขสว่าง เล่นเกม ด้านที่ 5 : สุขสงบ การสวดมนต์และการนั่งสมาธิ การยี่ยมบ้าน ผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของชุมชน คือ ขาดความต่อเนื่องในการจัดกิจกรรม การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมองเห็นคุณค่าในตนเอง ต้องได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว ชุมชน จัดกิจกรรมจรรโลงจิตใจเมื่อจิตเป็นสุขและเข้มแข็งก็จะสามารถนำสู่การดูสุขภาพที่ดีเกิดภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
References
ชณภัช ลิ่มสืบเชื้อ. (2553). การศึกษาและพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหำบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ทักษิณำร์ ไกรราช. (2553). รายงานวิจัยกระบวนการสร้างคุณค่าผู้สูงอายุในคลินิกชุมชนอุทัยทิศ จังหวัดมหาสารคาม. มหำสำรคำม: วิทยำลัยพยำบำลศรีมหาสารคาม.
นลินี บุญธรรม. (2555). ยุทธศาสตร์กำรสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในการดูแลตนเอง. Phetchabun Rajabhat Journal (ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร).14(1), บทความวิจัย
ประณิต ทวีลาภ. (2552). การใช้โปรแกรมการระลึกความหลังต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพยำบาลสุขภาพจิตและจิตเวช มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปริญญา โตมานะและระวิวรรณ ศรีสุชาติ. (2548). ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุและปัจจัยเกื้อหนุนอื่นๆ. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 13(1),28-37.
สถาบันวิจัยและประชากรและสังคม มหาวิทยำลัยมหิดล. (2557). ค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2557. จำก http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/Download.aspx?Page=Book Report&DownloadlD=480&File=Report-File-480.pdf)
เสาวณีย์ เตชะพัฒนาวงษ์. (2553). ผลของการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎียึดบุคคลเป็นศูนย์กลางที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ. สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญาการศึกษำมหำบัณฑิต สาขาวิชาการจิตวิทยากำรแนะแนว มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒน์.
เสาวนีย์ พงผึ้ง. (2543). ผลของการฝึกสมาธิ (วิปัสสนากัมมัฏฐาน) ต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองการมองโลกในแง่ดี และภาวะสุขภาพในผู้สูงอายุ. วิทยำนิพนธ์วิทยาศาสตรมหำบัณฑิต สาขาพยาบาลสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล.
อัมพร เบญจพลพิทักษ์, กาญจนา วณิชรมณีย์และพรรณี ภาณุวัฒน์สุข. คู่มือความสุข 5 มิติสาหรับผู้สูงอายุ. นทบุรี : สำนักพัฒนาสุขภาพจิต, 2555.
Coopersmith, S. (1981). The antecedents of self-esteem. Palo Alto, CA: Consulting Psychologists Press.
Seong-H.P., Kuem,S.H. and Chang-Bum,K. (2014). “Effects of exercise programs on depressive symptoms, quality of life and self-esteem in older people: A systematic review of randomized controlled trials,” Applied Nursing Research. From: http:dx.dio.org/10.1016/i.apnr.2014.01.004.
Nanthamongkolchai, S., Makapat,A., Charupoonphol,P. and Munsawaengsub,C. (2007).”Self-Esteem of the Elderly in Rural Areas of Nakhon Sawan Province.” Journal of the Medical Association of Thailand. 90(1),155-9.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากบรรณาธิการวารสารนี้ก่อนเท่านั้น