A review of the literature on differences of behavioral factors among people living in high- and low-endemic areas of dengue fever in Thailand
Keywords:
Health behavior, Epidemic area, Hemorrhagic feverAbstract
Dengue hemorrhagic fever is vector born disease and remains major health problems. This article aimed to compare health behavior factors among people residing in epidemic areas of dengue hemorrhagic fever. The research articles were reviewed and retrieved from national and international databases. The data were presented as forest plot by determining the mean difference (MD) and 95 percent confidence interval (95%CI). Result reviewed that people residing in low and high epidemic areas of dengue hemorrhagic fever had not different health behavior factors, which are inconclusive and controversy. The health behavior factors consisted of knowledge, attitude, prevention and control behavior, social support, perception (situation and severity, susceptibility, threat and benefit), participation (prevention and control, problem identification and decision, and monitoring and evaluation) The literature review suggested that health personnel who is responsible for dengue hemorrhagic fever prevention and control should review the health behavior factors among people residing in epidemic areas continuously in order to prevent and control the epidemic of dengue hemorrhagic fever successfully and sustainably.
References
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2562). รายงานพยากรณ์โรคไข้เลือดออกปี 2562. ค้นเมื่อ 18 กันยายน 2562, จาก https://ddc.moph.go.th/ uploads/ckeditor/6f4922f45568161a8cdf4ad2299f6d23/files/Dangue/Prophecy/2562.pdf.
กฤษฎา โยธารักษ์. (2553). การรับรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้านที่พบอุบัติการณ์โรคสูงและอุบัติการณ์โรคต่ำ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
กุลชญา ลอยหา, สุรัตน์ หารวย, เด่นดวงดี ศรีสุระ, ปัทมา ล้อพงค์พานิชย์ และดวงดาว สุดาทิพย์. (2562). ปัจจัยทางด้านพฤติกรรมในการป้องกันโรคกับการอุบัติซ้ำของโรคไข้เลือดออกของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานี ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2557. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 8(1): 159 – 173.
จิรวรรณ วันสามง่าม. (2559). พฤติกรรมการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ที่มี การระบาดต่ำและพื้นที่ที่มีการระบาดสูง เขตอำเภอเมือง จังหวัดตรัง. การศึกษาเฉพาะทางด้านสาธารณสุขปริญญาสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง.
ณัฐธภัสสร วงศาสุข, อนุชา เพียรชนะ และธีรวุฒิ เอกะกุล. (2559). การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลคำน้ำแซบ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 5(1): 41 – 52.
นรลักขณ์ เอื้อกิจ และลัดดาวัลย์ เพ็ญศรี. (2562). การประยุกต์ใช้แนวคิด PRECEDE MODEL ในการสร้างเสริมสุขภาพ. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. 12(1). 38-48.
นันท์ภัส โตศรีบรรเจิด. (2555). ศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชน จังหวัดนนทบุรี ศึกษากรณีตำบลที่มีอัตราป่วยสูงสุดและอัตราป่วยต่ำสุด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
ประภัสสร ดําแป้น. (2555). การจัดการสิ่งแวดล้อมของชุมชนเขตเมืองเพื่อการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่อุบัติการณ์โรคสูงและต่ำ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประภาศิ ศรีคง. (2557). การเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนและการมีส่วนร่วมของแกนนำชมชน ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกระหว่างตำบลที่มีอุบัติการณ์ของโรคต่ำและสูง อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พงศ์พิทักษ์ สุพรม. (2553). การเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่มีการระบาดและไม่มีการระบาด ตำบลหนองแวง อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
พรศักดิ์ สําราญรื่น. (2553). การเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันควบคุมไข้เลือดออกของประชาชน ระหว่างตำบลที่มีการระบาดสูงสุด กับตำบลที่มีการระบาดต่ำสุด อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
พุทธินันท์ บุญทา, นพรัตน์ สงเสริม และเสนอ ภิรมจิตรผ่อง. (2559). การศึกษาสถานการณ์โรคไข้เลือดออกตามการรับรู้ของแกนนำสุขภาพประจำครอบครัว อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 5: 63 – 73.
ภิเชต เสริมสัย. (2554). การเปรียบเทียบความรู้ แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในหมู่บ้านที่มีและไม่มีการระบาด ตำบลทุ่งเบญจา อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทรบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
ฤทัย สมบัติสวัสดิ์ และนิรมล เมืองโสม. (2555). การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในหมู่บ้านที่มีการระบาดกับหมู่บ้านที่ไม่มีการระบาดในพื้นที่อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. ศรีนครินทร์เวชสาร. 27(4). 361-365.
สมชาย ดุรงค์เดช, ทัศพร ชูศักดิ์ และเนตรนภา สาสังข์. (2561). ความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกของชุมชนที่มีการระบาดของไข้เลือดออกซ้ำซากกับชุมชนที่มีการระบาดน้อย เขตพื้นที่ตำบลพระอินทราชา อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 13(3). 34-44.
สํานักโรคติดต่อนําโดยแมลง กรมควบคุมโรค. (2558). แนวทางการดําเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก. ค้นเมื่อ 24 มกราคม 2563, จาก http://www.trathealth.com/attach/newscd_1426044413.pdf.
สุทธิพงษ์ นาคมูล. (2546). เปรียบเทียบการรับรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกระหว่างหมู่บ้านที่พบอุบัติการณ์ของโรคสูงและไม่พบโรคไข้เลือดออก อำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุรศักดิ์ จ้องสละ. (2553). การเปรียบเทียบความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกของประชาชนในตำบลที่มีการระบาดสูงสุดกับตำบลที่มีการระบาดต่ำสุด อำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุริยา ดอกบัว, มณฑิชา รักศิลป์ และเผ่าไทย วงศ์เหลา. (2561). ผลของโปรแกรมการสร้างพลังอำนาจโดยใช้กระบวนการแบบมีส่วนร่วมและการให้แรงสนับสนุนทางสังคมในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของแกนนำครอบครัวในเขตเทศบาลตำบลโคกก่ง อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 7(1): 103 – 114.
อภิชัย คุณีพงษ์ และเสมอ วุฒิ. (2561). การเปรียบเทียบความรู้ ทัศนคติ แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนในตำบลที่มีการระบาดกับตำบลที่ไม่มีการระบาด ในพื้นที่อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี. วารสารควบคุมโรค. 44(1). 102-110.
อภิรุจี เกนทา. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างหมู่บ้านที่มีอัตราอุบัติการณ์เกิดโรคไข้เลือดออกสูงและต่ำ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยา.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากบรรณาธิการวารสารนี้ก่อนเท่านั้น