The Development of oral health care and surveillance programme for the elderly by community network in Chik Thoeng Subdistrict, Tan Sum District, Ubon Ratchathani Province
Keywords:
Elderly, oral health care and surveillance model, participationAbstract
The purpose of this action research was to study development of an oral health care and surveillance model for elderly by a community network in Chik Thoeng Subdistrict, Tan Sum District, Ubon Ratchathani Province. Participants were 231 elderly persons stratified random sampling selected from totally 431 persons and 20 local staff responsible for oral health care in the community. Data was collected by questionnaires, observation forms, group discussion log form, and operational monitoring form. The quantitative data analysis was used descriptive statistics and the content analysis for qualitative data.
Results revealed that the PAOR process of the development of oral health care and surveillance model for elderly adults by community network in Chik Thoeng Subdistrict consisted of 6 stages: 1) context base study, 2) practical workshop, 3) participatory planning activities, 4) action, 5) supervision, and 6) conclusion. The results showed that elderly had increased knowledge and behavior of oral health care with statistical significance at the 0.05 level, as well as had the mean knowledge and health behavior scores at a high level, at 10.41+ 1.95 and 2.34+0.52, respectively. The stakeholder as participatory key information group increased at a high level by 90percent.
At the end of the project, we proposed the “C-2P model”, which are comprised of 1) Creating a community network 2) Project support increasing knowledge and understanding and, 3) Participation of teams, the cooperation between the elderly, their caregivers, and the healthcare staff to be involved for continuing activities to promote dental healthcare for the elderly.
References
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.). (2564). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2563. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2561). รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 8. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
จงกลนี บุญอาษา และ พรทิพย์ คำพอ. (2557). “การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ หมู่ 13 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ปี 2555,” วารสารวิจัยเเละพัฒนาระบบสุขภาพ. 6(3), 1-10.
วิทักษ์ มูสาร. (2556). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมห้องแซง ตำบลห้องแซง อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร.วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นิรุวรรณ เทิร์นโบล์. (2561) ทันตสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: คลังนานาวิทยา.
ณัฐวุฒิ พูลทอง. (2559) “การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุโดยเครือข่ายชุมชนบ้านโนนสง่า ตำบลซาง อำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ,”วารสารทันตภิบาล. 27 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2559).
Saito S, Ohi T, Murakami T, Komiyama T, Miyoshi Y, Endo K, et al. (2018). "Association between tooth loss and cognitive impairment in community-dwelling older Japanese adults," BMC Oral Health. 18(1), 1-8.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากบรรณาธิการวารสารนี้ก่อนเท่านั้น