การประเมินผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน
Abstract
อุบัติการณ์การเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน พบมากในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหญิงวัยหมดประจำเดือน จากหลายการศึกษาพบว่า เพศหญิงมีการเกิดกระดูกหักมากกว่าเพศชาย 3-5 เท่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุน ได้แก่ อายุมากกว่า 70 ปี เพศหญิง โสด รายได้น้อย ภาวะทุพโภชนาการ หรือมีปัญหาด้านการเดิน เป็นต้น หากไม่ได้รับการวินิจฉัยหรือรักษา มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักแม้ได้รับอุบัติเหตุที่ไม่รุนเเรง (fragility fracture หรือ osteoporotic fracture) ตำแหน่งที่เกิดการหักมักพบบริเวณข้อมือ กระดูกสันหลัง หรือกระดูกสะโพก หากไม่ได้รับการผ่าตัด ส่งผลให้ทุพพลภาพ นอนติดเตียง และเสียชีวิต
References
Jerilynn C. Prior, Lisa Langsetmo, Brian C. Lentle, et al.Ten-year incident osteoporosis-related fractures in the population-based Canadian Multicentre Osteoporosis Study. Bone 2015;71:237-243.
Anusornvongchai T. Risk factors of older people with hip fracture in Lerdsin hospital. Journal of the department of medical services 2561;43(3):56-59.
Faryal M. and Ernesto C.. Secondary osteoporosis: pathophysiology and management. Eur J Endocrinol 2016; 173(3): R131-R151.
Sucharitpongpan W, Darahonngsataporn N, Saloa S, et al. Epidemiology of fragility hip fractures in Nan, Thailand. Osteoporosis and sarcopenia 2019
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการหรือของวารสารกรมการแพทย์