พิษจากสารปรอท Mercury Toxicity
Abstract
สารปรอทถูกนำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรมต่างๆ มากมายมาเป็นเวลานาน แต่ปรอทก็มีโทษเช่นกัน ปรอทบางรูปแบบสามารถปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม เมื่อสิ่งมีชีวิต รวมทั้งมนุษย์ ได้รับสารปรอทเข้าสู่ร่างกาย สามารถทำให้เกิดพิษจากปรอท นำมาซึ่งผลกระทบต่อระบบต่างๆ ของร่างกาย ตัวอย่างเช่นเหตุการณ์ในประเทศญี่ปุ่น ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการนำปรอทมาใช้ในวงการอุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย พบว่าประชากรที่อยู่บริเวณรอบจำนวนมาก มีอาการทางระบบประสาท ทางเดินหายใจ ต่อมาถูกเรียกว่า โรคมินามาตะ ซึ่งมีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นจำนวนมาก จากเหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้ทั่วโลกได้ตระหนักถึงพิษของปรอทและมีการควบคุมการใช้ปรอทมากขึ้นรวมถึงประเทศไทยอย่างไรก็ตาม ยังคงมีการใช้สารปรอทในอุตสาหกรรมต่างๆ มากมาย ในประเทศไทยมีข่าวการพบสารพิษปรอทตกค้างในผลิตภัณฑ์ต่างๆอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อประมาณ 20 ปีที่ผ่านมา มีการพบสารปรอทมากขึ้นในวงการเครื่องสำอางประเภทครีมหน้าขาว ซึ่งทำให้เกิดความตระหนักถึงปัญหาพิษของสารปรอทมากขึ้น
References
United Nations Environment Programme. Mercury in products and wastes. 2008. [cited 2012 August 20]. Available from: http://www.unep.org/hazardoussubstances/Portals/9/Mercury/AwarenessPack/English/UNEP_Mod1_UK_Web.pdf.
Research Triangle Institute; Agency for Toxic Substances and Disease Registry. Toxicological profile for mercury. Atlanta: US Department of Health and Human Services; 1999.
World Health Organization; International Program on Chemical Safety. Inorganic mercury: environmental health criteria 118. Geneva: World Health Organization; 1991. [Google Scholar]
Von Burg R. Inorganic mercury. J Appl Toxicol. 1995; 15(6):483–493. [PubMed] [Google Scholar]
Engler DE. Mercury “bleaching” creams. J Am Acad Dermatol. 2005; 52(6):1113–1114. [PubMed] [Google Scholar]
Olumide Y.M, Akinkugde A.O, Altraide D (2008). Complications of chronic use of skin lightening cosmetics. Int J Dermatol 47:344-53.
David A Olson. Medscape: Mercury Toxicity [Internet]. Georgia. David A Olson. 2018 [cited 2019 May 25]. Available from: https://emedicine.medscape.com/article/ 1175560-overview#a5.
Guallar E1, Sanz-Gallardo MI, van’t Veer P, Bode P, Aro A, Gómez-Aracena J et al. Mercury, fish oils, and the risk of myocardial infarction. The New England Journal of Medicine.
Ana Boischio. Mercury added in skin-lightening products. Toxicological note. WHO. February, 2017. Available from https://www.paho.org/hq/dmdocuments/2017/2017tn. mercury.products.pdf
Al-Saleh I, Khogali F, Al-Amodi M, El-Doush I, Shinwari N, Al-Baradei R. Histopathological effects of mercury in skin-lightening cream. J Environ Pathol Toxicol Oncol. 2003; 22(4):287-99.
เกษม พลายแก้ว. ปรอท: สารเคมีใกล้ตัวที่ควรรู้จัก. วารสาร มฉก.วิชาการ. 2548;81. เข้าถึงได้จาก: http://journal.hcu.ac.th/ pdffile/sci81609.pdf
MERCURY IN SKIN LIGHTENING PRODUCTS. WHO. PREVENTING DISEASE THROUGH HEALTHY ENVIRONMENTS. Available from: https://www.who.int/ipcs/assessment/public_ health/mercury_flyer.pdf
มิ่งขวัญ วิชัยดิษฐ .ปรอทสารอันตรายในเครื่องสำอาง[อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สถาบันโรคผิวหนัง 2562 [เข้าถึงเมื่อ 1 มิ.ย. 2562] เข้าถึงได้จาก https://www.facebook.com/1780376898856896/ photos/a.1836232843271301/2444991719062074/?type= 3&theater
อันตรายจากสารต้องห้ามในเครื่องสำอาง [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี 2562 [เข้าถึงเมื่อ 1 มิ.ย. 2562] เข้าถึงได้จาก https://med.mahidol.ac.th/ramapharmacy/ th/knowledge/general/04072016-2055-th
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการหรือของวารสารกรมการแพทย์