การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลโดยบูรณาการแนวคิด “ทีแพค โมเดล (TPACK Model)” กับ “สบช.โมเดล (PBRI Model)” ในการปฏิบัติการพยาบาลสำหรับ ผู้รับบริการในระดับปฐมภูมิ

ผู้แต่ง

  • สุภาภรณ์ วรอรุณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • เนติยา แจ่มทิม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • จิรพรรณ โพธิ์ทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • จินตนา เพชรมณี วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • อุมากร ใจยั่งยืน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • ปุรินทร์ ศรีศศลักษณ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • สาวิตรี ศิริผลวุฒิชัย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาล, ทีแพค โมเดล, สบช.โมเดล

บทคัดย่อ

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ให้ทราบถึงความสำคัญในการนำเทคโนโลยี มาใช้ในการปรับเปลี่ยนการจัด  การเรียนการสอนในรายวิชาทางการพยาบาลให้ทันสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์ โดยใช้   ทีแพค โมเดล 2) แนวทางการบูรณาการเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาลในรายวิชาทางการพยาบาล 3) การบูรณาการศาสตร์แนวทางการดูแลสุขภาพในระดับปฐมภูมิ โดยใช้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง โดยใช้ สบช.โมเดล

           การจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาล เป็นสาระสำคัญที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการ หรือการนำเทคโนโลยี และศาสตร์สาขาต่างๆ มาใช้บูรณาการในการจัดการเรียนการสอนและการปรับวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้อง        กับปัจจุบัน แต่สอดคล้องเป็นไปตามหลักสูตรการเรียนการสอนที่กำหนด ทั้งนี้เพื่อให้ผู้สอนและผู้เรียนได้มีความรู้      และเท่าทันต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีความทันสมัย และสามารถนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้ได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้ในรายวิชาที่นำมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ ทีแพค เป็นรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน 2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ทำการจัดการเรียนการสอนในนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 4

References

จิรชพรรณ ชาญช่าง. (2563). การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง: การเรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง.วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(3), 78-89.

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี. (2561). หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561). วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. (2566). คู่มือแนวทางการประเมินภาวะสุขภาพตามแนวคิด “สบช. โมเดล”. จัดพิมพ์โดย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.

Ali, D. A., El Meniari, A., Saidi, M., & Khabbache, H. (2023). Exploring the TPACK of prospective nursing educators: A national study. Teaching and Learning in Nursing. https://doi.org/10.1016/j.teln.2023.03.016

Koehler, M. J., & Mishra, P. (2008). Introducing Technological Pedagogical Content Knowledge. In AACTE Committee on Innovation and Technology (Eds.), Handbook of Technological Pedagogical Content Knowledge (TPCK) for Educators (pp. 3-29). New York: Routledge.

Lachner A, Fabian A, Franke U, Preiß J, Jacob L, Führer C, et al. (2021). Fostering preservice teachers’ technological pedagogical content knowledge (TPACK): A quasi-experimental field study. Comput Educ. https://doi.org/10.1016/j.compedu.2021.104304.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-03