Laparoscopic ureteroneocystostomy for ureterovaginal fistula after hysterectomy: A Ramathibodi Hospital experience

Authors

  • Paiboon Iemsupakkul Division of Urology, Department of Surgery, Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Bangkok, Thailand
  • Kittinut Kijvikai Division of Urology, Department of Surgery, Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital, Mahidol University, Bangkok, Thailand

Keywords:

Laparoscopy, ureteroneocystostomy, hysterectomy, การผ่าตัดผ่านกล้อง, รูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอด, การผ่าตัดมดลูก

Abstract

Objective: To describe our experience and report the outcomes of laparoscopic ureteroneocystostomy treatment in patients who had ureterovaginal fistula after hysterectomy.
Material and Methods: We retrospectively reviewed the data of 8 patients who underwent laparoscopic extravesical ureteroneocystostomy using the psoas hitch procedure for ureterovaginal fistulas following hysterectomy between July 2007 and December 2015. Transperitoneal laparoscopic approach was performed in all cases.
Results: The procedures were performed successfully in all patients without any conversion. Mean operative time was 143.13 (range 100 to 200) minutes;mean estimated blood loss was 58.75 (range 20 to 200) ml; average hospital stay was 4.5 (range 3 to 7) days, and mean follow up was 4 (range 1 to 5) years. There was no minor or major complication and there was no stricture formation in our series.
Conclusions: Laparoscopic ureteroneocystostomy with psoas hitch can be performed safely with a success rate comparable to that of open surgery. It provides excellent outcomes with less morbidity and a faster recovery period.

 

การผ่าตัดผ่านกล้องแก้ไขรูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดที่เกิดหลังการผ่าตัดมดลูก
ไพบูลย์ เอี่ยมสุภัคกุล, กิตติณัฐ กิจวิกัย
หน่วยศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อรายงานผล และเทคนิค การผ่าตัดผ่านกล้องรักษารูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดที่เกิด หลังการผ่าตัดมดลูก
วิธีการศึกษา: ศึกษาข้อมูลย้อนหลังผู้ป่วยจำนวน 8 รายที่ ได้รับการผ่าตัดแก้ไขรูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดโดยการตัดท่อไตกับกระเพาะปัสสาวะด้วยกล้องผ่านช่องท้อง ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2007 ถึงเดือนธันวาคมพ.ศ. 2015
ผลการศึกษา: จากการศึกษาการผ่าตัดแก้ไขรูรั่วระหว่างท่อไตและช่องคลอดสามารถผ่าตัดได้ผลสำเร็จทุกราย ระยะเวลาที่ใช้ในการผ่าตัดเฉลี่ยอยู่ที่ 143 นาที การสูญเสียโลหิตเฉลี่ย 58.75 มิลลิลิตร ระยะเวลาของการพักรักษาตัวในโรงพยาบาลเฉลี่ย 4.5 วัน และระยะเวลาการตรวจติดตามเฉลี่ยที่ 4 ปี โดยที่ไม่พบภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยทั้ง 8 รายรวมถึงไม่พบภาวะท่อไตตีบหลังการผ่าตัด
สรุป: การผ่าตัดตัดต่อท่อไตกับกระเพาะปัสสาวะด้วยกล้องมีความปลอดภัยและได้ผลสำเร็จเทียบเท่าการผ่าตัดแบบเปิดการรักษามีผลข้างเคียงน้อยและผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็ว

Downloads

Published

2016-06-30

How to Cite

Iemsupakkul, P., & Kijvikai, K. (2016). Laparoscopic ureteroneocystostomy for ureterovaginal fistula after hysterectomy: A Ramathibodi Hospital experience. Insight Urology, 37(1), 17–22. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJU/article/view/63024

Issue

Section

Original article