งานผลิตนักกีฬาอาชีพของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการพลศึกษาเป็นไปได้จริงหรือ

Main Article Content

สมพงศ์ ชาตะวิถี

Abstract

ตามที่สถาบันการพลศึกษา มีพระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา พ.ศ. 2548 และมีบทบาทหน้าที่ส่วนหนึ่งในการผลิดนักกีฬาเพื่อพัฒนาให้ไปสู่ความเป็นเลิศทั้งในระดับการศึกาาขั้นพื้นฐาน และระดับอุดมศึกษาซึ่งเป็นพื้นฐานของการเป็นนักกีฬาอาชีพด้วยนั้น สถาบันการพลศึกษาได้ส่งเสริมสนับสนุนในการเตรียมและผลิดนักกีฬาของสถาบันอย่างมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการของตลาด โดยสถาบันการพลศึกษาได้รวมรวมองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนากีฬาเพื่ออาชีพ

Article Details

How to Cite
ชาตะวิถี ส. (2010). งานผลิตนักกีฬาอาชีพของสถานศึกษาสังกัดสถาบันการพลศึกษาเป็นไปได้จริงหรือ. Academic Journal of Thailand National Sports University, 2(1), 1–12. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/252093
Section
Academic Article

References

การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2553). ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาอาชีพ. เอกสารอัดสำเนา. การกีฬาแห่งประเทศไทย.

ชาญวิทย์ ผลชีวิน. (2552). คู่มือมือการฝึกอบรมกีฬาฟุตบอล C-License. (เอกสารประกอบการฝึกอบรม), สถาบันพัฒนาบุคลากร. สํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ.

นิติพันธ์ สระภักดิ์. (2547). การฝึกความเร็วในการกีฬา. ศรีสะเกษการพิมพ์. จังหวัดศรีสะเกษ.

ปรางทิพย์ ยวานนท์. (2552). การจัดการกีฬา. บริษัทพิมพ์ดีการพิมพ์. กรุงเทพฯ.

สมพงษ์ ชาตะวิถี. (2552). เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ. เอกสารอัดสําเนา. สถาบันการพลศึกษา. กรุงเทพฯ.

สมพงษ์ ชาตะวิถี. (2551). เอกสารนโยบายอธิการบดีสถาบันการพลศึกษา. สถาบันการพลศึกษา (เอกสารอัดสําเนา). กรุงเทพฯ.

สถาบันการพลศึกษา. (2553). ยุทธศาสตร์การพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ (พ.ศ. 2553 - 2556) ของสถาบันการพลศึกษา. สถาบันการพลศึกษา. กรุงเทพฯ.

สถาบันการพลศึกษา. (2553). รายงานการวิจัยเรื่องการประเมินผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 สําหรับโรงเรียนกีฬา. สถาบันการพลศึกษา.

International Olympics Committee. (2005). Sport Administration Manual. Roger Jackson & Associates Ltd. Canada.