สาระน่ารู้เกี่ยวกับการออกกําลังกาย
Main Article Content
Abstract
ความหมายของการออกกําลังกาย ไข้เจ็บต่างๆ เปรียบเสมือนยาสารพัดประโยชน์
มีผู้ให้ความหมายของการออกกําลังกาย ที่เป็นทั้งยาบํารุงยาสําหรับป้องกันโรค และยาสําหรับ ไว้หลายแง่มุม แต่เพื่อให้อ่านเข้าใจง่าย พอเป็นพื้นฐาน บําบัดรักษา เพื่อฟื้นฟูสภาพร่างกาย จึงขอให้ความหมายของการออกกําลังกายไว้ดังนี้ การออกกําลังกายมีผลทําให้อวัยวะสําคัญๆ
การออกกําลังกาย หมายถึง การออกแรง ของร่างกายได้แก่ หัวใจ ปอต ระบบการไหลเวียน การใช้พลังงานหรือกิจกรรมทางร่างกาย ที่บุคคลได้ ของโลหิต ซึ่งถือเสมือนเป็นกลไกที่สําคัญทําให้ กระทําเพื่อต้องการให้ร่างกายได้รับการเคลื่อนไหว อวัยวะอื่นๆ มีประสิทธิภาพในการทํางานอย่างดี ซึ่งมีผลทําให้ร่างกายแข็งแรงและสมบูรณ์ทางสุขภาพ ตามไปด้วย โดยมีความคงทนต่อสภาพแวดล้อม อนามัย การออกกําลังกายเป็นปัจจัยที่สําคัญอย่าง ที่ประกอบไปด้วยมลพิษรอบด้าน เพื่อจะทําให้ หนึ่ง ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตทางร่างกายโดยเฉพาะ ดํารงชีวิตอยู่ด้วยความสุขสบายทั้งร่างกายและ อย่างยิ่งในวัยเด็กและวัยรุ่น จะทําให้ร่างกายเติบโต จิตใจ [11 สมวัย ในวัยสูงอายุ การออกกําลังกายจะช่วยป้องกัน ปฏิกิริยาต่อการออกกําลังกายเกิดขึ้น ใน และรักษาอาการหรือโรคที่เกิดในวัยชรา [6] การ หลายส่วนและมีลักษณะต่างๆ กัน เฉพาะที่ ออกกําลังกายเพื่อเอาชนะแรงต้านทําให้ซีพจร สําคัญๆ [2] เพิ่มขึ้น ระบบต่าง ๆ ทํางานเพิ่มขึ้นจน ถึงจุดสูงสุด 1. กล้ามเนื้อ การออกกําลังกายทุกครั้ง นั่นคือมีเหงื่อออก หายใจแรงขึ้น ซีพจรไม่ต่ํากว่า ต้องอาศัยกล้ามเนื้อหดตัว ดึงกระดูก ซึ่งประกอบ 100 ครั้ง/นาที เรียกว่าถึง Peak [7] การออกกําลัง เป็นแขนขาและส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องให้มีการ กายเพื่อมุ่งให้เกิดสมรรถภาพทางกายจะต้องเป็น เคลื่อนไหว เป็นเหตุให้กล้ามเนื้อ มีความแข็งแรง การฝึกในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความอ่อนตัว การ มากยิ่งขึ้น สัมพันธ์ระหว่างระบบประสาทและกล้ามเนื้อ การ 2. หัวใจและหลอดเลือด เมื่อมีการ ทรงตัวความยืดหยุ่น รวมทั้งความอดทนในการ ออกกําลัง หัวใจจะได้รับการกระตุ้นทางระบบ ทํางานของปอดและหัวใจ ซึ่งจะมีผลต่อความ ประสาทให้เต้นเร็วและแรงขึ้น สูบฉีดเลือดได้ปริมาณ เหนื่อยช้าหรือเร็วของบุคคล เป็นต้น
Article Details
The published article is a copyright of the Academic Journal of Thailand National Sports University. The passage appeared in each article in this academic journal is a perspective of each author which is not related to the journal. Each author is required to be responsible for all components of his/her own article. If there are any mistakes, each author must be responsible for those mistakes on his/her own.
References
การออกกําลังกาย. 19 มกราคม 2552. http://www.bangkokhealth.com/index.php
การออกกําลังกายทําให้ส่วนใดของร่างกายเปลี่ยนแปลงบ้าง. 11 กุมภาพันธ์ 2553. http://www.kanchiariapisek.or.th/kp6/BOOK10/chapter9/10-9-11.html
ขั้นตอนปฏิบัติของการออกกําลังกายในแต่ละครั้ง. 2 มกราคม 2553. http://www.kcn.ac.thykr
ข้อควรระวังในการออกกําลังกาย. 13 มิถุนายน 2548. http://203.157.7.154/exercisc.asp?content id=62
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการออกกําลังกาย. 1 มกราคม 2553. http://www.swu.ac.th/royal;book6fb6c6t9.html
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการออกกําลังกาย. 15 กุมภาพันธ์ 2553. http://www.spr.go.th
ขัชวาลย์ รัตนพร. 2548. สุขภาพนั้นสําคัญไฉน. การอบรมผู้นําการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ รุ่นที่ 1/2548, 7-9 กันยายน 2548 ณ ห้องประชุมรอดโพธิ์ทอง สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตมหาสารคาม มหาสารคาม คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตมหาสารคาม.
ชนิดของการออกกําลังกาย. 1 มกราคม 2553. http://www.swu.ac.th/royal/books/b6c6t4.html
นพพร สุวรรณโซติ. (2552). การเลือกรูปแบบการออกกําลังกาย, 1 กุมภาพันธ์ 2552. http://learning.wu.ac.th/moodle145.course/category.php?id-27
บัญญัติ 10 ประการสําหรับผู้อยกกําลังกายเพื่อสุขภาพ. 1 มกราคม 2553. http://www.swu.ac.th/royal/book6/bócót7.html
สุขภาพดีอยู่ที่ตัวท่าน. 19 มกราคม 2552. http:www.bangkokhealth.com/index.php
อายุกับการออกกําลังกาย. 12 กุมภาพันธ์ 2553. http://www.kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK10/charster/t10-9-12.html