การนําประเมินผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สําหรับ โรงเรียนกีฬา มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรับโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา

Main Article Content

Nithiphan Sarapakdi

Abstract

ตามที่ สถาบันการพลศึกษาได้มอบหมายให้ฝ่ายโรงเรียนกีฬาทําการศึกษาผลการใช้หลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 เพื่อนําผลมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 สําหรับโรงเรียนกีฬา ซึ่งได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายเป็นอย่างดี และขณะนี้การ พัฒนาหลักสูตรใหม่ของโรงเรียนกีฬาได้ดําเนินการมาจนถึงการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้แล้วนั้น เพื่อให้ ครูของโรงเรียนกีฬาได้มีแนวคิดในการจัดทําแผนดังกล่าว ฝ่ายจึงได้จัดทําสรุปรายงานการวิจัยผลการใช้ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สําหรับโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาขึ้น

Article Details

How to Cite
Sarapakdi, N. (2011). การนําประเมินผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สําหรับ โรงเรียนกีฬา มาใช้ในการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรับโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา. Academic Journal of Thailand National Sports University, 3(1), 11–26. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/252184
Section
Research Articles

References

กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา. (2552). รายงานผลการตรวจและประเมินการปฏิบัติราชการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2552. เอกสารอัดสําเนา.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กาญจนา คุณารักษ์. (2540). หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กรมพลศึกษา. (2539). รายงานการวิจัยเรื่องการประเมินการดําเนินงานโรงเรียนกีฬา สังกัดกรมพลศึกษา ฉบับที่ 1. โรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี. สุพรรณบุรี.

กรมพลศึกษา. (2545). รายงานการศึกษาปัญหาโรงเรียนกีฬารูปแบบประหยัดของโรงเรียนกีฬา จังหวัดศรีสะเกษ, โรงเรียนกีฬาจังหวัดศรีสะเกษ. (เอกสารอัดสําเนา).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา. (2541). แผนพัฒนาการศึกษาสําหรับเด็กและเยาวชนผู้มีความสามารถพิเศษ. ศูนย์ปฏิบัติการแห่งชาติเพื่อการพัฒนาคน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา. (2545). ปฏิรูปการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัฒนาพานิช.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา. (2550). รายงานการวิจัยและพัฒนารูปแบบการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาแบบเครือข่าย. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จํากัด.

ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ อลีนเพรส.

นิติพันธ์ สระภักดิ์. (2546). วิธีฝึกสอนกีฬาที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. ศรีสะเกษ: โรงพิมพ์ศรีสะเกษการพิมพ์.

โรงเรียนกีฬาจังหวัดศรีสะเกษ. (2544). รายงานการวิจัยเพื่อขอปรับเปลี่ยนโรงเรียนกีฬารูปแบบประหยัดเป็นโรงเรียนกีฬาเต็มรูปแบบ. พิมพ์ที่โรงเรียนกีฬาจังหวัดศรีสะเกษ. เอกสารอัดสําเนา.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2540). สถิติวิทยาทางการวิจัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์นการพิมพ์.

วาสนา คุณาอภิสิทธิ์. (2547). การพัฒนารูปแบบการพัฒนาครูในการจัดทําสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิชัย ดิสสระ. (2535). การพัฒนาหลักสูตรสานต่อที่ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: เซนเตอร์ดิสคพเวอรี่.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2535). การพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจร. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์นการพิมพ์.

กรมวิชาการ. (2533). เอกสารแนะนําหลักสูตรฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันการพลศึกษา. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 สําหรับโรงเรียนกีฬา. สถาบัน การพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ.

สถาบันการพลศึกษา. (2549). พระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา พ.ศ. 2548. กรุงเทพฯ.

สถาบันการพลศึกษา. (2551). โครงการจัดตั้งโรงเรียนกีฬา. กองนโยบายและแผน. สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ. (เอกสารอัดสําเนา).

สมพงษ์ ชาตะวิถี (2552) เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ เรื่อง “แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานศูนย์กีฬาเพื่อความเป็นเลิศในวิทยาเขตสถาบันการพลศึกษา” (เอกสารอัดสําเนา).

สุมิตร คุณานุกร. (2518). หลักสูตรและการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนชม.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2540). วิธีวิทยาการประเมินทางการศึกษา. ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศักดิ์ชาย พิทักษ์วงศ์ และ โกศล มีคุณ. (2552). รายงาน “การศึกษาสถานภาพการดําเนินงานเกี่ยวกับผู้มีความสามารถพิเศษด้านการกีฬาของประเทศไทย” สถาบันส่งเสริมอัจฉริยะภาพและนวัตกรรมการเรียนรู้ (สสอน.) สํานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้(องค์การมหาชน).

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2536). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัญชลี บรรจงศิริ. (2539). การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง วิชาเอกพลศึกษา พุทธศักราช 2529 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2534). กรมพลศึกษา วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Good, Cater. (1973). Dictionary of Education. New York: McGrew Hill Book Company.

Stufflebeam, D.L. (1990). Systematic Evaluation. Boston/Dordcht/L. aneaster : Kluwer.

Nijhoff Pubishing. Tyler, R.W. (1950). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago: University of Chicago Press.