ยุคสมือนโลกแบน รู้จักใช้ พัฒนาสื่อไฮบริดจ์ (Hybrid) หรือสื่อwสม กางเบนโปรแกรมให้เปล่า ของวินโดว์ไลฟ์ (Windows Live)

Main Article Content

Wittaya Lawsiri

Abstract

จะดีไหมถ้าครู อาจารย์ของเราสามารถใช้ ไปยังบล็อกของทุกคน Blogs ใช้นําเสนอเนื้อหาบท สื่อสารการศึกษาได้หลากหลายรูปแบบตามที่เรา เรียน web cam ใช้ติดต่อสื่อสารกันระหว่างผู้สอน ต้องการจากเครื่องมือสื่อสารที่สนองตอบกิจกรรม กับผู้เรียน หรือผู้เรียนกับผู้เรียนด้วยกัน Mobile การเรียนการสอนได้อย่างที่ไม่เคยทําได้ในอดีต ว่า Live ใช้ติดต่อทางโทรศัพท์มือถือกับ เครือข่ายผ่าน จะเป็นการสร้างเว็บบล็อก การสร้างวีดิโอแล้วนําไป วินโดว์ เดี๋ยวนี้สื่อสารถึงบ้านโดยโปรแกรมให้เปล่า ฝากไว้บนบล็อกเชื่อมโยงถึงคลังวีดิโอได้ สามารถ มีมากมาย บทความนี้เป็นการแนะนํา โปรแกรมที่มี นําไฟล์งาน การเรียนการสอน หรือ การสร้างสไลด์ คุณสมบัติในการเชื่อมโยงได้มากสถานการณ์ โดยที่ ไฟล์ภาพ เสียงต่างๆ แล้วสามารถดึงลงมาใช้งานได้ เราสามารถเรียนรู้ได้โดยง่ายเพียงมีทักษะด้านการ ในทุกๆ ที่เราต้องการโดยที่เราไม่ต้องพกพาติดตัว ใช้โปรแกรมสําเร็จรูปเพียงพอ และมีศิลปะ ในการ ไปให้เกะกะรกรุงรัง กิจกรรมการเรียนการสอน แต่งหน้าตา ในงานของท่าน ประกอบกับเนื้อหา ที่ ที่กําลังมาแรงเช่น การใช้ห้องสนทนา หรือ แมส ครู อาจารย์ทุกท่านมีอยู่นํามาถ่ายทอดให้กับผู้เรียน เซนเจอร์ เราสามารถดูหน้าตาคู่สนทนาได้โดยใช้ ได้ตลอดเวลา และไม่เสียเงินทองในการสร้างสื่อ กล้องเว็บแคมไปด้วยขณะสนทนาโต้ตอบกัน และ เหล่านี้เลย เนื่องจากเป็นพื้นที่ให้เปล่า เพียงเข้าไป ยังมีความสามารถอีกมากมาย เช่น Hotmail ใช้ ใช้ให้เกิดประโยชน์ก็ถือว่าตรงวัตถุประสงค์ของ ติดต่อถึงกันได้ตลอดเวลาและทุกสถานที่ด้วยบัญชี ผู้เป็นเจ้าของ แต่ในปัจจุบันนี้มีบุคคลเป็นจํานวน ผู้ใช้เว็บอีเมล์ของผู้สอน และผู้ศึกษา Mait ใช้เข้าถึง มากนํามาใช้ในทางไม่สร้างสรรค์ เช่น ใช้เป็นเครื่อง หลายบัญชีผู้ใช้อีเมล์ในที่เดียว Messenger ใช้ มือหลอกลวงเยาวชนไปในทางเสื่อมเสียทั้งแพร่ ติดต่อ และให้การสนทนากัน Sky Drive ใช้เป็น ภาพลามก อนาจาร และลวงไปทํามิดีมิร้าย ใน พื้นที่จัดเก็บไฟล์แบบออนไลน์ที่มีรหัสผ่านป้องกัน ฐานะที่ครู อาจารย์ในโรงเรียน และสถานศึกษา Spaces ใช้เป็นสถานที่บรรจุเครื่องมือสื่อสาร ไว้ มีหน้าที่ในการสร้าง เยาวชน ถือเป็นสถาปนิกทาง เข้าเป็นหมวดหมู่และ จัดกลุ่มผู้เรียน เปรียบเสมือน สังคม เราควรศึกษาเครื่องมือสื่อสาร เพื่อนํามาส ห้องเรียนให้ผู้เรียนเข้าติดต่อออนไลน์ กับผู้สอน ร้างสื่อและแนะนําเด็กนักเรียนของเรามาใช้ในทาง Photo Gallery ใช้เป็นที่นําเสนอบทเรียนเป็น บวกก่อนที่คนอื่นจะชักจูงไปในทางไม่พึงประสงค์ รูปภาพสไลด์ และวิดีโอ Writer สําหรับ ใช้สร้าง จากสิ่งแวดล้อมคือ เรียนรู้จากเพื่อน และสิ่ง เนื้อหารูปภาพ วิดีโอ และเนื้อหาแบบพิเศษอื่นๆ แวดล้อมในสื่อเองที่ไม่มีทางเลือก

Article Details

How to Cite
Lawsiri, W. (2011). ยุคสมือนโลกแบน รู้จักใช้ พัฒนาสื่อไฮบริดจ์ (Hybrid) หรือสื่อwสม กางเบนโปรแกรมให้เปล่า ของวินโดว์ไลฟ์ (Windows Live). Academic Journal of Thailand National Sports University, 3(2), 203–210. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/252683
Section
Academic Article

References

กิดานันท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิดานันท์ มลิทอง. (2548). ไอซีทีเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2542). “นวัตกรรมการจัดการเรียนผ่านเครือข่ายเวิลด์ ไวด์ เว็บ,” สารปฏิรูปม 2(15) : 28-30.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2542). อินเทอร์เน็ต : เครือข่ายเพื่อการศึกษา, วารสารครุศาสตร์ 26 (พฤศจิกายน 2541 - กุมภาพันธ์ 2542) : 55 - 66.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2544). การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) นวัตกรรมเพื่อคุณภาพการเรียน การสอน, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning : หลักการออกแบบและสร้างเว็บเพจเพื่อการเรียน การสอน, เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์. (2550). เครื่องมือการเรียนรู้บนสื่ออินเทอร์เน็ต, วารสารเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา, 4(4), 33-39.

ทิศนา แขมณี. (2550). รูปแบบการเรียนการสอน ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โธมัส แอล เฟรดมัส. (2005). ใครว่าโลกกลม. (รอฮีม ประมาท, ผู้แปล), รุงเทพฯ : วีเลิร์น. (ฉบับภาษาไทย พิมพ์ ค.ศ. 2550).

นพพล เผ่าสวัสดิ์. (2549), สื่อการสอนมัลติมีเดีย กรุงเทพฯ : งานตําราวารสารและสิ่งพิมพ์สถานเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2548). ทักษะ 5 C เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาสกร เรืองรอง. (2549). (ไม่ปรากฏวัน เดือน ปีที่เผยแพร่), WBIการเรียนการสอนผ่านเว็บ สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม จาก: http://ThaiWBl.com

สยาม สงวนรัมย์. (2549), ลองเล่น เป็นเลย อินเทอร์เน็ต Blog-Chat-Email. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น.

สมพงษ์ ชาตะวิถี. (2548). หลักสูตรสถาบันการพลศึกษา ระดับปริญญาตรี พุทธศักราช 2548. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).

สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราซบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวานกราฟฟิคจํากัด.

ศรีศักดิ์ จามรมาน. (2551). เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ” งานโสตฯ เทคโนฯ สัมพันธ์แห่งประเทศไทยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23”, อีเลิร์นนิ่งทําให้โลกแบนจริงหรือไม่. พิษณุโลก : ภาค วิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย