Exercise Behaviors Using Aerobics of Residents in the Bangkok Metropolitan Area

Main Article Content

Warawuth Sariyuth

Abstract

In this thesis, the researcher investigates exercise behaviors using aerobics of selected residents in the Bangkok Metropolitan area. In addition, the researcher compares exercise behaviors using aerobics of the residents under study as classified by the demographical variables of gender, age and educational level.


The sample population consisted of 300 Bangkok Metropolitan area residents who were exercising using aerobics at Rajamangala National Stadium, Lumpini Park, and Din Daeng Bangkok Youth Center (Thai-Japan). Using the accidental sampling method, the researcher selected 100 respondents from each location. The instrument of research used to collect data was a questionnaire.


Using techniques of descriptive statistics, the researcher analyzed the data collected in terms of percentage, mean and standard deviation. The t-test technique was also employed by the researcher.


Findings are as follows:


  1. The respondents who exercised using aerobics exhibited behaviors in the aspect of knowledge at a moderate level, the aspect of attitudes at a good level, and the aspect of practice at a very good level.

  2. Male and female respondents exercising using aerobics exhibited corresponding differences in exercise behaviors in the aspects of knowledge and attitudes at the statistically significant level of .05. There were no differences at the statistically significant level of .05 in the aspect of practice by male and female respondents in regard to their exercise behaviors using aerobics.

  3. Of the respondents, those who were no older than forty-five years of age and those who were forty-five years of age or older exhibited parallel differences at the statistically significant level of .05 in their exercise behaviors in the aspects of knowledge, attitudes, and practice.

  4. Of the respondents, those whose educational level was lower than that of a bachelor's degree and a bachelor's degree or higher exhibited concomitant differences at the statistically significant level of .05 in their exercise behaviors in the aspect of knowledge. There were no differences at the statistically significant level of .05 in the aspects of attitudes and practice.

Article Details

How to Cite
Sariyuth, W. (2012). Exercise Behaviors Using Aerobics of Residents in the Bangkok Metropolitan Area. Academic Journal of Thailand National Sports University, 4(2), 51–66. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/254477
Section
Research Articles

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงสาธารณสุข. (2551). วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข. กรมอนามัย.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2540), การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ. วารสารชมรมศิษย์เก่าพลศึกษา สุขศึกษา และนันทนาการ.

กลุ่มงานเวชศาสตร์การกีฬา สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา. (2551). การป้องกันการบาดเจ็บจากการกีฬา. กรุงเทพฯ: หจก. นัฐพร การพิมพ์.

การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2552). วารสารกีฬา, กรุงเทพฯ: การกีฬาแห่งประเทศไทย.

กิตติชาญ วินิจวงษ์. (2546). ความรู้และแนวทางการปฏิบัติที่มีต่อการออกกําลังกายของบุคลากรในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (พลศึกษา), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

คณาฉันท์ อินอ่อน, วัชรินทร์ ปราชญ์สิน และ ดาราณี ลิขิตวรศักดิ์. (2548), การศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักเรียนวัยก่อนประถมศึกษา ระดับอายุ 4-6 ปี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์.

จรรจา สุวรรณทัต. (2535), จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2547). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฉัตรทิราภรณ์ โลหพันธุ์วงศ์, วนิดา พันธ์สะอาด และนฤมล นันทพล. (2549), ออกกําลังกาย สไตล์แอโรบิกดานซ์ สํานักวิทยาสตร์การกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.

ฉัตรทิราภรณ์ โลหพันธุ์วงศ์, วนิดา พันธ์สะอาด, นฤมล นันทพล และจันทร์หอม กันทะสอน (2551). คู่มือวิทยากรแอโรบิกมวยไทย. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท ครีเอชั่น จํากัด.

เติมศักดิ์ คทวณิช. (2546), จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดเคชั่น.

ธนิตา ทองมี. (2546) การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (พลศึกษา), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นุสรา ปภังกรกิจ. (2550). คู่มือการออกกําลังกายเพื่อรักษาและฟื้นฟูการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์. (2544). พฤติกรรมการออกกําลังกาย เล่นกีฬา และดูกีฬาของประชาชนในกรุงเทพมหานคร. วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และนันทนาการ.

ถนอมวรรณ อยู่ขํา. (2536), พฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากร สังกัดกรมพลศึกษาในส่วนกลาง, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (สุขศึกษา), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2527), ปฑานุกรมการวิจัย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิยาลัยมหิดล.

ปนัดดา จูเภา. (2544). พฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการออกกําลังกายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา, ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ และสวิง สุวรรณ. (2536), พฤติกรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2532). การสอนสุขศึกษา ทฤษฎีและการประยุกต์, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2534), พฤติกรรมสุขภาพ เอกสารการสอนชุดวิชาสุขศึกษา (หน่วย 1-7, พิมพ์ครั้งที่ 7) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ประวิตร เจนวรรธนะกุล. (2551). กายภาพบําบัดทางการกีฬา กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรียาภรณ์ โกมุท. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรทางการพยาบาล โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (สุขศึกษา) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พัชรีพรรณ ตรีศักดิ์ศรี. (2548). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพมหานคร, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (สุขศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พิชิต ภูติจันทร์. (2535), เวชศาสตร์การกีฬา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

ไพทูรย์ เจริญพันธ์วงศ์. (2540). พฤติกรรมองค์กรและการบริหาร กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ, รัตนา ประเสริฐสม และเรียม ศรีทอง. (2544), พฤติกรรมกับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. (2546), ออกกําลังกายในวัยทํางาน. กรุงเทพฯ: กองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

ราชบัณฑิตสถาน (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค.

ลุมพินี. (2552). ประวัติความเป็นมาของสวนลุมพินี. ค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2552 จาก http://www.T_Lumpini.html

วสันต์ ไมตรีจิตต์. (2548). การทดสอบสมรรถภาพทางกาย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

วัชรินทร์ ปราชญ์ศิลป์. (2550). การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.