เบาหวาน....ถ้ารู้ทัน...ก็ไร้เสี่ยง

Main Article Content

Supaporn Tantinuntatrakoon

Abstract

โรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ ซึ่ง วิทยา พบว่า ปัญหาดังกล่าวควรได้รับการแก้ไขโดย นับวันจะยิ่งเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น เป็นปัญหา การหาแนวทางป้องกันและลดความรุนแรงของโรค ทางสาธารณสุขระดับโลก และระดับประเทศไทย ตลอดจนลดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นสาเหตุของการ จะเห็นได้จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก เจ็บป่วย พิการ และการเสียชีวิตจากโรคเบาหวาน (WHO) ค.ศ. 2003 พบว่าทั่วโลกมีผู้ป่วยด้วยโรค ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วเกิดผลกระทบทั้งในระดับบุคคล เบาหวาน จํานวน 193 ล้านคน

Article Details

How to Cite
Tantinuntatrakoon, S. (2012). เบาหวาน.ถ้ารู้ทัน.ก็ไร้เสี่ยง. Academic Journal of Thailand National Sports University, 4(2), 125–136. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/254484
Section
Academic Article

References

Wild, Roglic, Green, Sicree, & King. 2004. World Health Organization (WHO).

เทพ หิมะทองคํา และคณะ. 2550. ความรู้เรื่องเบาหวานฉบับสมบูรณ์, กรุงเทพฯ.

วิภาดา ศิริจันทรโท. 2548. ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลบางแพ จังหวัดราชบุรี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน.

รัชนีวรรณ แก้วรังศรี. 2552. รู้ทัน “เบาหวาน” นนทบุรี.

นิตยา พันธุเวทย์ และนุชรี อาบสุวรรณ. 2553. ประเด็นวันรณรงค์วันเบาหวานโลก. สํานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.

วิฑูรย์ โล่สุนทร, วิโรจน์ เจียมจรัสรังสี. 2550. การทบทวนวรรณกรรมเรื่อง, ระบาดวิทยาของโรคเบาหวาน ปัจจัยเสี่ยง และการตรวจคัดกรองในประเทศไทย, สถาบันวิจัยระบบสุขภาพ. 1088(3).

Matthias B, Schulze., and Frank B, Hu. October 2004. Primary Prevention Of Diabetes : What Can Be Done and How Much Can Be Prevented?. Annu. Rev. Public Health, 445-460 Retrieved April 17, 2010. From www.annualreviews.org/HYPERLINK“http://www.Pub”.PubMed/Primarypreventionofdiabetes

อุไรวรรณ โพร้งพนม. 2545. ผลของการรํามวยจีนซี่กงต่อน้ําตาลเกาะเม็ดเลือดแดงในผู้ป่วยเบาหวาน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศิริลักษณ์ วงษ์วิจิตสุข และชัญญา เจียมใจ. 2553. ปริมาณฝุ่นรวมทุกขนาด ปริมาณฝุ่นที่สามารถเข้าถึงและสะสมในถุงลมปอด ปริมาณรวมของเชื้อแบคทีเรีย ปริมาณรวมของเชื้อราในอากาศภายใน ห้องปิด และความชุกของกลุ่มอาการอาคารป่วยของนักศึกษา อาจารย์และเจ้าหน้าที่ในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง. วารสารส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม.

Geoffery M Calvert, Marie Haring Sweency, James Deddens, David K Wall. 1999. Evaluaton of Diabetes Mellitus Envivon. Med; (59);270-6.

อุระณี รัตนพิทักษ์. 2553. การให้ความรู้จัดการโรคเบาหวานด้วยตนเอง, สํานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร.

ไธวดี ดุลยจินดา. 2553. แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า). สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.

สุมาลี นิมมานิตย์. 2553. โรคเบาหวานกับภาวะไตวาย. มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2554, จาก www.si.mahidol.ac.th//SirraiE-Public

กรกต วีรเชียร อินเอื้อ. 2553. โภชนบําบัด การให้ความรู้เพื่อจัดการเบาหวานด้วยตนเอง. สํานักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร.

วิวรรณ ทั้งสุบุตร, 2548. Nathan, 1999. การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. (หน้า 471-482), กรุงเทพมหานคร, เรือนแก้วการพิมพ์.

สุนิตย์ จันทรประเสริฐ และคณะ. 2542. ความรู้ทั่วไปเรื่องโรคเบาหวาน, กรุงเทพมหานคร. คัลเลอร์ ฮาร์โมนี จํากัด.

นิจศรี ชาญณรงค์. 2549. Guidelines for Detection, 2553. สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย, สมาคมโรคต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย, สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, กรุงเทพมหานคร.

ธิติพันธ์ ธานีชิต. 2551. ความชุกของภาวะซึมเศร้า ระดับน้ําตาลสะสมในเลือดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เข้ามารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกในคลินิกต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลจุฬา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รัชวรรณ ตู้แก้ว. 2510, ผลของโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองต่อการปฏิบัติการจัดการตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน.

ศุภกิจ ศิริลักษณ์, 2551. รายงานการสาธารณสุขไทย 2551 - 2553 สํานักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร