การคืนสภาพของอัตราการเต้นของหัวใจและปริมาณ การใช้ออกซิเจนสูงสุดภายหลังจากการฝึกว่ายน้ําด้วยโปรแกรมควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ
Main Article Content
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทราบอัตราการเต้นของหัวใจและปริมาณการใช้ออกซิเจนภายหลัง จากการได้รับโปรแกรมการฝึกที่ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักกีฬาว่ายน้ํา คนพิการทีมชาติไทยที่เข้าร่วมการแข่งขันการแข่งขันกีฬาคนพิการระดับโลก (พาราลิมปิกเกมส์ 2012) ณ ประเทศอังกฤษ ทําการฝึกซ้อมตามโปรแกรมเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า
- ปริมาณการใช้ออกซิเจนสูงสุดก่อนการฝึกในสัปดาห์ที่ 0 มีค่าเฉลี่ย 36.50 (มล./กก./นาที) และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.10 หลังจากได้รับโปรแกรมการฝึกว่ายน้ําตามโปรแกรมของ George Goodfin แล้วพบปริมาณการใช้ออกซิเจนสูงสุดมีค่าเพิ่มสูงขึ้นโดยมีค่าเฉลี่ย 42.76 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 21.48
- อัตราการเต้นของหัวใจหลังจากการว่ายน้ําท่าฟรีสไตลล์ระยะทาง 200 เมตร ในวินาทีที่ 30 ก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกและภายหลังจากการได้รับโปรแกรมการฝึกนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
- อัตราการเต้นของหัวใจหลังจากการว่ายน้ําท่าฟรีสไตลล์ระยะทาง 200 เมตรในวินาทีที่ 60 ก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกและภายหลังจากการได้รับโปรแกรมการฝึกนั้นมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
The published article is a copyright of the Academic Journal of Thailand National Sports University. The passage appeared in each article in this academic journal is a perspective of each author which is not related to the journal. Each author is required to be responsible for all components of his/her own article. If there are any mistakes, each author must be responsible for those mistakes on his/her own.
References
ชูศักดิ์ เวชแพศย์. (2540), สรีรวิทยาของมนุษย์, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ : บูรพสาสน์การพิมพ์.
ประทุม ม่วงมี. (2527), รากฐานทางสรีรวิทยาของการออกกําลังกาย, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพ : บูรพาสาสน์การพิมพ์.
พานิช ไชยศรี. (2530), การออกกําลังกายที่ระดับความถี่ต่างกันที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของร่างกาย, ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. เอกสารอัดสําเนา.
มยุรี ศุภวิบูลย์. (2547). เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชา วทก 407 กิจกรรมทางกายสําหรับบุคคลพิเศษ, กรุงเทพ : ภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เอกสารอัดสําเนา.
ACSM. (1994). ACSM's guidelines for exercise testing and Prescription. 5th Edition. Waveerly Company.
Baltimore Bruke Ed. (1989). Precision Heart Rate Training. 1st Human Kinetics. Champaign, IL.
Coulson Matthew. (2003). Swimming Special Report. 1st Peak Performance. London.
David P. Swain. (2001). Exercise Prescription a case study approach to the ACSM Guidelines. 1st Human Kinetics.
Boston Edward F. Coyle. (1998) Journal : Sports Science Exchange. Vol.59. Texas. Fespic Games 2006 Malaysia. (Online). Available: http://www.klo6.com/. Retrived 16 August 2006.
Frank J. Cerny. (2001). Exercise Physiology for Health Care for Health Care Professionals. 1st Human Kinetics.
Boston Jack Wilmore. (1994). Physiology Of Sports and Exercise. 2nd Human Kinetics. Metabolic in Fat Exercise. (online). Available: http://www.gaterade.com Retrieved 12 July 2004,
Swimming Disabilities Classification (Online). Available:http://www.paralympic.org/release/SummerSports/Swimming/About_the_sport/Classification/index.html Retrieved
August 2006.
VO2max and your Endurance Performance. (Online). Available: http://www.sport-fitnessadvisor.com/NO2max.html Retrieved 1 September 2004.
Winnick Joseph P.(2000). Adapted Physical Education and Sport. 31d Human Kinetics.