ความสำคัญของการประเมินผลการเรียนรู้ในสาระที่ 6: กีฬาเพื่อความเลิศ สําหรับโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา

Main Article Content

Taweesak Punlummoon

Abstract

การประเมินผลการเรียนรู้ (Learning Assessment) เป็นองค์ประกอบสําคัญของกระบวนการ จัดการเรียนการสอน การประเมินผลจะช่วยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและประสิทธิภาพ การสอนของผู้สอนว่าเป็นอย่างไร ไพศาล หวังพานิช (2545:1, 4-5) ได้กล่าวถึงบทบาทของการประเมินผล ว่า เป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน เป็นหน้าที่โดยตรงของผู้สอนทุกระดับที่ต้อง ดําเนินการวัดและประเมินผลผู้เรียนทุกคน เพื่อตรวจสอบความสามารถในการเรียนรู้

Article Details

How to Cite
Punlummoon, T. (2022). ความสำคัญของการประเมินผลการเรียนรู้ในสาระที่ 6: กีฬาเพื่อความเลิศ สําหรับโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา. Academic Journal of Thailand National Sports University, 6(1), 183–194. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/256297
Section
Academic Article

References

กรมวิชาการ. (2539), การประเมินตามสภาพจริง, กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ .

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกหวานกราฟฟิคจํากัด.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. (2544). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2550). แผนพัฒนากีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2550-2554). กรุงเทพฯ : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา,

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,

ชวลิต ชูกําแพง. (2553). การประเมินการเรียนรู้ มหาสารคาม: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ทวีศักดิ์ ปันคํามูล. (2556). การพัฒนาระบบการประเมินผลการเรียนรู้สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาระที่ 6 กีฬาเพื่อความเป็นเลิศของโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (การจัดการเรียนรู้พลศึกษา), กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. (2544). การประเมินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ : แนวคิด และวิธีการกรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง ไพศาล หวังพานิช. (2545). การวัดผลและประเมินผลการเรียน กรุงเทพฯ : สํานักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วาสนา คุณาอภิสิทธิ์. (2539) การสอนพลศึกษา กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์,

วาสนา คุณาอภิสิทธิ์. (2541). หลักสูตรพลศึกษา กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ

วาสนา คุณาอภิสิทธิ์. (2552). การพัฒนาหลักสูตร แนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการปฏิบัติ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค.

Baker O'Neil & Linn. (1993). Policy and validity prospects for performance based assessment. American Psychologist. 48: 1210-1218.

Singer. (1974). Motor Learning and Human Performance: An Application to Motor Skills and Movement Behaviors. 3rd ed. New York: Mac Millan.