ผลการใช้ EC-CAR Model ในการอบรมปฏิบัติการ การจัดทํางานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงos P-A-O-R ของครูโรงเรียนกีฬา สถาบันการพลศึกษา : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

Main Article Content

Direk Suksinai

Abstract

The purposes of this research were to study the results of EC-CAR Model in workshop for performing classroom action research (CAR) as the followings: 1) problems and method for solving students' problems using in classroom action research (CAR) of sport school teachers, 2) study teachers' knowledge and quality in CAR according to P-A-O-R cycle, and compare teachers' CAR knowledge before and after participated the workshop, 3) compare teachers' knowledge and quality in CAR across personal factors, and 4) indicate influences in EC-CAR model of 4 activities on CAR knowledge and CAR quality. Populations were 119 teachers of sport schools under Physical Education Institute, Ministry of Tourism and Sport who participated workshop between May 7-9, 2011 at Wasitti Hotel, Suphanburi. Research instruments were coding manual and coding form for CAR synthesis, test of CAR knowledge, questionnaires, and CAR evaluation form.


yzed by percentage, mean, standard deviation, t-test, one way ANOVA, and content analysis.


The results showed that: 1) most problems found in CAR were skills and abilities,


methods most used for solving problems were extra practicing, and most of teachers succeeded in solving students' problems, 2) teachers' level of CAR knowledge and CAR quality were moderate, and teachers' CAR knowledge higher than before workshop, 3) CAR knowledge and quality were different across age, number of teaching class, educational level, position, teachers' learning area, geological region, and 4) activities in EC-CAR model which influenced on CAR knowledge and CAR quality was coaching activities.

Article Details

How to Cite
Suksinai, D. (2022). ผลการใช้ EC-CAR Model ในการอบรมปฏิบัติการ การจัดทํางานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงos P-A-O-R ของครูโรงเรียนกีฬา สถาบันการพลศึกษา : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. Academic Journal of Thailand National Sports University, 6(3), 107–122. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/256398
Section
Research Articles

References

กลุ่มหลักสูตรและพัฒนาการเรียนการสอนโรงเรียนกีฬา กองส่งเสริมวิชาการ สถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2554), โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียน ของโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา. (อัดสําเนา),

จารึก อาจวารินทร์. (2528), การวิเคราะห์ตัวประกอบสมรรถภาพนักวิจัยทางการศึกษา วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดิเรก สุขสุนัย. (2547), อิทธิพลขององค์ประกอบในโมเดลเคนที่มีต่อผลการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูในโครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งโรงเรียน, วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2546). หลักคิดพื้นฐานในการวิจัยและการสังเคราะห์งานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนใน ทิศนา แขมมณี และ นงลักษณ์ วิรัชชัย (บรรณาธิการ), เก้าก้าวสู่ความสําเร็จในการวิจัย ปฏิบัติการในชั้นเรียนและการสังเคราะห์งานวิจัย, หน้า 7-53. กรุงเทพมหานคร: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.

นวรัตน์ พูนใย. (2545). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครู ประถม ศึกษา สังกัดสํานักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภัสสร วงษ์ดี. (2540). กระบวนการและการใช้ผลการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูนักวิจัยในโรงเรียนประถมศึกษา วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภารัตน์ มีเหลือ. (2540), การศึกษาสมรรถภาพของครูนักวิจัย, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปราณี นุ่นน้อย. (2540). การพัฒนาองค์ประกอบการประเมินงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (27 เมษายน 2554). ขอความอนุเคราะห์บุคลากรในสังกัดไปเป็นวิทยากร. (หนังสือราชการ อัดสําเนา),

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545), พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.

สุนา ณ สุโหลง. (2545). การสังเคราะห์งานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูประถมศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวัฒนา สุภาลักษณ์. (2538), การพัฒนาแบบสอบความสามารถด้านวิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม. (2540), แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน ใน ทิศนา แขมมณี และสร้อยสน สกลรักษ์ (บรรณาธิการ) แบบแผนและเครื่องมือวิจัยทางการศึกษา, หน้า 27-36. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2546). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ithaca city school district. (2003). Classroom action research. Retrieved March 30, 2004, available from: http://www.mylearningplan.com

Joyce, B. and Weil, M. (1996). Models of Teaching. 4th ed. Needham Hights: Massachusetts: Allyn and Bacon.

Kemmis, S. & McTaggert, R. (1988). The action research planner. 3rd ed. Victoria, Australia: Deakin University Press. Retrieved March 30, 2004, available from: http://www.stanns.org/RT/Action%20Research%20Spiral.pdf

Madison Metropolitant School District. (2001). Classroom action research. Retrieved March 30, 2004 available from: http://www.madison.K12.wi.us/sod/car/carhomepage.html

ettetal, G. (2001). The What, why and how of classroom action research. The journal of Scholarship of Teaching and Learning (JOSOTL). 2 (1): 6-13. Retrieved May 10, 2004 available from: http://titans.iusb.edu/josotlol2N01/mettetal_v2_n1.pdf

Mettetal, G. (2004). Classroom action research overview. The journal of Scholarship of Teaching and Learning (JoSoTL). 2 (1): 6-13. Retrieved May 10, 2004 available from: http://titans.iusb.edu/osotWol2No1/mettetal v2 n1.pdf

Miller, A.C. (2001). Action Research: Making Sense of Data. Retrieved March 31, 2004, available from: http://www.faน.edu/coe/sfce/sensdata.html