Administrators and Knowledge Management
Main Article Content
Abstract
ปัจจุบันเป็นยุคสังคมแห่งการเรียนรู้และ ยุคแห่งการไร้พรมแดน การบริหารจัดการจึงมีความ จําเป็นที่ผู้นําจะต้องมีการจัดการความรู้ของคนใน องค์การเพื่อความสําเร็จของการปฏิบัติงานของคน ให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ โดยการจัดการความรู้ ดูเหมือนเป็นเรื่องง่ายๆ แต่องค์การจํานวนมากที่ ผู้บริหารไม่สามารถบริหารและจัดการความรู้ให้ องค์การบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลได้ ดังนั้นผู้บริหารจะต้องใช้ทั้ง ศาสตร์และและศิลป์ให้คนในองค์การสามารถใช้ ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นําไปใช้ในการปฏิบัติงาน โดยมีการคิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหา คิดพัฒนา คิดค้นประดิษฐ์ คิดหาวิธีการปฏิบัติงานใหม่ๆ ให้ ประสบความสําเร็จ (Success) ตามวิสัยทัศน์ (Vision) หรือเป้าหมายที่กําหนดไว้ ในการบริหาร ของผู้บริหารคงจะต้องมีภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
The published article is a copyright of the Academic Journal of Thailand National Sports University. The passage appeared in each article in this academic journal is a perspective of each author which is not related to the journal. Each author is required to be responsible for all components of his/her own article. If there are any mistakes, each author must be responsible for those mistakes on his/her own.
References
ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ. (2548). การจัดการความรู้ในองค์กรธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เอ็กสปอร์.
ชนวัฒน์ โกญจนาวรรณ. (2550). การจัดการสารสนเทศสําหรับผู้นําองค์กรและผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
ประเวศ วะสี. (2548). การจัดการความรู้ : กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคศ.),
ภารดี อนันต์นาวี. (2555). หลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการบริหารการศึกษา, ชลบุรี: มนตรีการพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
วิจารณ์ พานิช. (2548), การจัดการความรู้ฉบับนักปฏิบัติ, กรุงเทพฯ: ตถาตาพลับลิเคชัน.
วิจารณ์ พานิช. (2552), การจัดการความรู้คืออะไร. วันที่ค้นข้อมูล 12 พฤษภาคม 2551, เข้าถึงได้จาก http://kmi.or.th/kmi-articles/prof-vicharn-panich/28-0001-intro-to-km.html
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2545). ภาวะผู้นํา: ทฤษฎีและปฏิบัติ Leadership: Theory and Practice. กรุงเทพฯ: บริษัท บุคลิ้งค์ จํากัด.
สํานักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2548). การจัดการความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) ฉบับสรุป, กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จํากัด.
สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา. (2548). การจัดการความรู้ในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา.
Bass, B. M., & Avolio, B. J. (1990). Transformational leadership development: Manual for the multifactor leadership questionnaire. Palo Alto, California: Consulting Psychologists Press.
Hersey, P., Blanchard, K.H., & Johnson, D.E. (2001). Management of Organizational Behavior. New Delhi. Prentice Hall of India.
Lillrank, P., Kano, N. (1989). Continuous Improvement: Quality Control Circles in Japanese Industry. Center for Japanese Studies, University of Michigan, Ann Arbor, MI., 23-25.
Nonaka, 1 (1994), A Dynamic Theory of Organizational Knowledge Creation, in Organizations Science, 5(1), 14-37.
Osterhoff, R.J. (2004). Knowledge management: Evolution from theory to practice. Retrieved November 22, 2010, from http://www.apo-tokyo.org/productivity/116_prod.html
Sallis, E., & Jones, G. (2002). Knowledge Management in Education. London: Kogan page.