การประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงสําหรับครูผู้สอน พลศึกษาในโรงเรียนขนาดเล็ก
Main Article Content
Abstract
การประเมินผลเป็นกระบวนการสําคัญที่มีส่วนเสริมสร้างความสําเร็จให้กับผู้เรียนและเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการในการจัดการเรียนการสอน การสอนและการประเมินผลจึงจําเป็นต้องมีลักษณะ สอดคล้องกันและดําเนินควบคู่กันไป ดังนั้นเมื่อการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมีลักษณะการเรียนรู้ ที่แท้จริง (Authentic Learning) จึงจําเป็นที่จะต้องทําการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) (ชนาธิป พรกุล, 2544)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
The published article is a copyright of the Academic Journal of Thailand National Sports University. The passage appeared in each article in this academic journal is a perspective of each author which is not related to the journal. Each author is required to be responsible for all components of his/her own article. If there are any mistakes, each author must be responsible for those mistakes on his/her own.
References
กรมวิชาการ. (2539) การประเมินผลจากสภาพจริง, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กรมวิชาการ. (2546). รูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก. สืบค้นเมื่อ 4 กันยายน 2556, จาก http://journal.drchalard.com/journa/3/3_3/aded_3_39-23.pdf
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
ชนาธิป พรกุล. (2544), แคทส์: รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วาสนา คุณาอภิสิทธิ์. (2552). การพัฒนาหลักสูตร แนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กรุงเทพฯ : องค์การค้าของ สกสค.
วาสนา ประวาลพฤกษ์. (2539), การประยุกต์ใช้การวัดการประเมินความสามารถจริงในสภาพการเรียนการสอน. วารสารการวัดผลการศึกษา, 17(51): 32-41.
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2544). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการประเมินตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ: เชียงใหมโรงพิมพ์แสงศิลป์.
สุชานาถ ยอดอินทร์พรหม. (2544). การใช้แบบฝึกการเขียนเพื่อส่งเสริมการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (การศึกษาพิเศษ) เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ถ่ายเอกสาร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
สุชิน เพ็ชรักษ์. (2544). รายงานการวิจัย เรื่อง การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญาประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545), พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ฉบับแก้ไขครั้งที่ 2 พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร: พริกหวากราฟฟิค.
Browning, Arthetta Jane. (1999). Question of Equity:Kentucky Authentic Assessment Reading and Mathematics Results Compared by Sex and Location. Dissertation Abstract International. 60(11A): 151.
Hauser, D.L. (1980). Comparison of different models for organizational analysis. In Organizational assessment perspective on the measurement of organizational behavior and the quality of work life (pp. 132-161). New York: John Wiley & Son.