Sports Science in Sports Development
Main Article Content
Abstract
วิทยาศาสตร์การกีฬา คํานี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ กีฬา ยิ่งไปกว่านั้น ยังเป็นศาสตร์ที่จะทําให้การ สมัยที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬา กีฬาและการออกกําลังกายเป็นประโยชน์ต่อ เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 5 เมื่อปี พ.ศ.2509 โดยคณะ ประชาชนทั่วไปได้เต็มที่ ไม่เพียงเพื่อการส่งกรรมการจัดการแข่งขัน ได้เสนอว่า ถ้าการจัดการเสริมสุขภาพและป้องกันโรคต่างๆยังรวมถึงการแข่งขันเป็นไปด้วยดี แต่นักกีฬาของเราสู้เขาไม่ได้ก็ช่วยบําบัดรักษา และฟื้นฟูสภาพจากการบาดเจ็บ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
The published article is a copyright of the Academic Journal of Thailand National Sports University. The passage appeared in each article in this academic journal is a perspective of each author which is not related to the journal. Each author is required to be responsible for all components of his/her own article. If there are any mistakes, each author must be responsible for those mistakes on his/her own.
References
การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2557). ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา ครบรอบ 48 ปี. กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิทยาศาสตร์การกีฬา, สํานักวิทยาศาสตร์การกีฬา.
สํานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2551) คู่มือการใช้วิทยาศาสตร์การกีฬา เพื่อพัฒนาศักยภาพนักกีฬา ระดับนักเรียน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจํากัด.
ถนอมวงค์ กฤษณ์เพ็ชร์. (2536) วิทยาศาสตร์การกีฬาที่นํามาใช้กับการกีฬาในปัจจุบัน, แนวคิดและทิศทางของวิทยาศาสตร์การกีฬาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ถนอมวงค์ กฤษณ์เพ็ชร์ สิทธา พงษ์พิบูลย์. (2554) สรีรวิทยาการออกกําลังกาย, กรุงเทพฯ: บริษัทตีรณสาร จํากัด.
ไถ้ออน ชินธเนศ. (2539). แนวทางการใช้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาในโค้ชยุคใหม่. สารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา, 5(1): 51-52.
ไวพจน์ จันทร์เสม นิกร สีแล ยุพาภรณ์ สิ่งลําพอง กรทิพย์ ลิ่มนรรัตน์ สําราญ ศรีสังข์ ปธานศาสน จับจิตร และโกศล รอดมา. (2555). การพัฒนาความสามารถของนักกีฬา. วารสารวิชาการสถาบันการพลศึกษา. 4(3): 167 - 190.
ศุกล อริยะสัจสี่สกุล. (2555). การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวเพื่อพัฒนาศักยภาพนักกีฬา สถาบันการกีฬาแห่งรัฐนิวเซาท์เวลล์ ออสเตรเลีย, วารสารวิชาการ สถาบันการพลศึกษา, 4(2): 143-153.
สุพิตร สมาหิโต. (๒๕๕๓) วิทยาศาสตร์การกีฬา เส้นทางสู่ความเป็นเลิศทางกีฬา, สารวิทยาศาสตร์การกีฬา, 10(120): 2-4.