วิธีประยุกต์การประเมินตามสภาพจริง ให้สอดคล้องกับหลักการประเมินผู้เรียน ในสาระที่ 6 : กีฬาเพื่อความเป็นเลิศของโรงเรียนกีฬา

Main Article Content

Taweesak Punkummoon

Abstract

ปัจจุบันมีการกล่าวถึงคําว่า “ประเมินตามสภาพจริง” หรือ “ผลงานเชิงประจักษ์” ค่อนข้าง แพร่หลาย เนื่องจากว่าคําเหล่านี้ คือ ผลของการปฏิบัติของผู้เรียนหรือผู้สอนและได้เนื้องานเป็นชิ้นเป็นอัน อย่างแท้จริง ซึ่งการประเมินตามสภาพจริงนั้น เป็นแนวทางสําคัญประการหนึ่งของการปฏิรูประบบ การเรียนการสอนในปัจจุบันที่สนองตอบต่อหลักสูตรในการพัฒนาผู้เรียน โดยการประเมินผลการเรียนรู้ สมัยใหม่นั้นมุ่งเน้นการประเมินที่หลากหลาย สะท้อนกับชีวิตจริงและให้ความสําคัญกับความแตกต่างของ ผู้เรียน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตั้งแต่ ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครอง ผู้บริหาร เป็นต้น ต้องเข้ามามีส่วนร่วมอย่าง แท้จริง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้จะสะท้อนกับลักษณะผู้เรียนอย่างมีความหมาย เครื่องมือที่ใช้ใน การประเมินนั้น ต้องมีหลากหลายตามสภาพและลักษณะที่พึงประสงค์โดยมีเกณฑ์เพื่อบ่งบอกความสําเร็จ อย่างชัดเจน สิ่งที่กล่าวมา สอดคล้องกับสาระของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติที่เปรียบเสมือน แนวทางในการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบัน เพราะฉะนั้น การประเมินผลต้องปรับเปลี่ยนให้เข้าตามสภาพ ที่เป็นจริงของหลักสูตรเพื่อจุดมุ่งหมายสุดท้ายคือผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาผู้เรียนนั่นเอง

Article Details

How to Cite
Punkummoon, T. (2022). วิธีประยุกต์การประเมินตามสภาพจริง ให้สอดคล้องกับหลักการประเมินผู้เรียน ในสาระที่ 6 : กีฬาเพื่อความเป็นเลิศของโรงเรียนกีฬา. Academic Journal of Thailand National Sports University, 7(1), 241–250. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TNSUJournal/article/view/256450
Section
Academic Article

References

กรมวิชาการ. (2539). การประเมินตามสภาพจริง. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร: บริษัทพริกหวานกราฟฟิคจํากัด.

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สํานักงาน. (2544). คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

ทวีศักดิ์ ปันคํามูล. (2556). การพัฒนาระบบการประเมินผลการเรียนรู้สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาระที่ 6 กีฬาเพื่อความเป็นเลิศของโรงเรียนกีฬา สังกัดสถาบันการพลศึกษา ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (การจัดการเรียนรู้พลศึกษา), กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Archbald, D. A.; & Newman, F. M. (1988). Beyond standardized testing: Assessing authentic academic achievement in the secondary school. Reston, VA: National Association of Secondary Pricipals.

Baker O'Neil & Linn. (1993). Policy and validity prospects for performance based assessment. American Psychologist. 48: 1210-1218.

Corbin, C. (1994). "Teaching Fitness for Life: A Status Report," Paper Presented at the National AAHPERD Convention, Anaheim, CA,

Herman, J., & Winters, L. (1994). Portfolio research: A slim collection. Educational Leadership. 52(2): 48-56.

Meyer, Carol A. (1992). What's the difference between authentic and performance assessment?. Education Leadership. 49(8): 39-40.

Mitchell, R. (1992). Testing for learning: How new approaches to evaluation can improve American schools. New York: Free Press.

Singer. (1974). Motor Learning and Human Performance: An Application to Motor Skills and Movement Behaviors. 3rd ed. New York: Mac Millan.