การพัฒนาความเข้มแข็งทางใจในชุมชนในสถานการณ์ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
none
คำสำคัญ:
การเสริมสร้างความเข็มแข็งทางใจ , ชุมชน, การพัฒนาความเข็มแข็งทางใจ, ชุมชน, โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)บทคัดย่อ
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบทุกภาคส่วนทั่วโลก และส่งผลถึงชุมชน ที่ประกอบด้วยปัจเจกคน ครอบครัวและชุมชน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น ท้าทายระบบบริหาร ระบบบริการ ระบบการศึกษาวิจัย ผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์และทีมช่วยเหลือต่าง ๆ เพื่อคิดค้นพัฒนาวิธีการควบคุมโรค การส่งเสริมป้องกัน การดูแลรักษา การติดตามเฝ้าระวัง และการเยียวยาประคับประคองให้ประชาชนรู้สึก มั่นคง ปลอดภัย ยืนหยัดอยู่ได้ในชุมชน และคงไว้ซึ่งสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สิ่งสำคัญที่สุดคือการให้ความสำคัญในระดับรากหญ้า นั่นคือชุมชน การส่งเสริมสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าระยาว หากชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจและร่วมกันปฏิบัติจนเป็นชุมชนสุขภาพดีแล้ว เมื่อผนึกพลังกันย่อมเป็นชุมชนเข้มแข็งที่ใหญ่และกว้างขึ้น ประการสำคัญที่สุด คือ ทุกคนควรตระหนักว่าสุขภาพเป็นของตัวเอง ไม่ใช่เป็นของคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นหน้าที่ของทุกคนที่อยู่ในครอบครัวและชุมชนเดียวกันที่ต้องรวมพลังกันสร้าง จากบทเรียนของโรค COVID 19 ที่มีผลกระทบสุขภาพองค์รวม แต่การรักษาส่วนใหญ่มุ่งไปที่สุขภาพกาย ในขณะที่กายกับจิตเป็นของคู่กัน ถึงเวลาแล้วที่จะมาสร้างความเข้มแข็งทางใจในชุมชนท่ามกลางการระบาดเพื่อความมั่นคงของชุมชนและประเทศชาติต่อไป
References
มหาวิทยาลัยสูโขทัยธรรมาธิราช. หน่วยที่ 15 ชุมชนประชาคม (community). [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.stou.ac.th › polsci › UploadedFile›.
ดำรงศักด็ แก้วเพ็ง. ชุมชน. สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ, 2556.
Cheerie R. Community and Public Health Nursung Promoting the public’s Health. (ninth edition). Philadephia: Julie Stegnan, 2018.
ลัดดาวัลย์ ไวยสุระสิงห์และ สุภาภรณ์ วรอรุณ. กระบวนการพยาบาลชุมชน : แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ดูแลสุขภาพประชาชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.
อัจฉรา สโรบล. ชุมชน การพัฒนาชุมชน ความสัมพันธ์ระหว่างบ้านและชุมชน. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2564 จาก http://human.cmu.ac.th › home ›ebook›. 2564
กีรดา ไกรนุวัตร. ใน กีรดา ไกรนุวัตร และรัชนก คชไกร. (บรรณาธิการ), การพยาบาลชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559.
กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ไวรัสโคโรนา –โควิด19. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.ddc.moph.go.th).
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. การปฏิบัติตามมาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.hsri.or.th/media/news/detail/12521.
ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศพื้นที่ควบคุมสถานการณ์โควิด 77 จังหวัด. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2564 จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th.
Zainab TO, et all. Identifying public concerns and reactions during the COVID-19 pandemic on Twitter: A text-mining analysis. Public Health Nursing;2020, 38(2), 145–151.
สมชัย จิตสุชน. ผลกระทบทางสังคมของการะบาดโรคโควิด – 19 ระลอกใหม่และมาตรการที่ควรมี. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2564 จาก https://tdri.or.th/2021/01/impact-of-new-covid-19-wave/.
Meredith TJ, & Donna MK. COVID-19's impact on the mental health of older adults: Increase in isolation, depression, and suicide risk. An urgent call for action. Journal of public Health Nursing; 2020, 37(5), 637-638.
Rural Health Information Hub. Demographic changes and aging population. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564 จาก https://www.ruralhealthinfo.org/toolkits/aging/1/demographics.
World Health Organization. Mental health and psychosocial considerations during the COVID-19 outbreak. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564 จาก https://www.who.int/docs/default-source/coronaviruse/mental-health-considerations. pdf.
Administration for Community Living. National older adult mental health awareness day 2020: Combating social isolation for seniors during the COVID-19 pandemic. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564 จาก https://acl.gov/news-and- events/announcements/.
American Foundation for Suicide Prevention. COVID-19: We must care for older adults&mental health. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน จาก https://afsp.org/story/covid-19-we-must-care-.
Kamuran O, et all. Fatalism, fear, and compliance with preventive measures in COVID-19 pandemic: A structural equation modeling analysis. Public Health Nursing Early view, 2021, 38(1), 1-11.
Rahul P, et all. Accredited Social Health Activist (ASHA) and Her Role in District Mental Health Program: Learnings from the COVID 19 Pandemic. Community Mental Health Journal ;2021, 57(3) 442-445.
Centers for Disease Control. The state of mental health and aging in America. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2564 จาก https://www.cdc.gov/aging/pdf/mental_health.pdf.
ทวีศักดิ์ กสิผล และภัทรา เล็กวิจิตรธาดา. ใน จริยาวัตร คมพยัคฆ์ และวนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย. (บรรณาธิการ), การพยาบาลอนามัยชุมชน แนวคิด หลักการและการปฏิบัติการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: บริษัทจุดทองจำกัด, 2554.
กรมสุขภาพจิต. แนวทางการสร้างวัคซีนใจ เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันในชุมชน. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.dmh.go.th › covid19 › news1 › files.
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. (มปป). เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ “อึด ฮึด สู้”. นนทบุรี. มปท.
กรมสุขภาพจิต. คู่มือการปฏิบัติงาน ทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจทุกระดับ ผู้ประสบภาวะวิกฤตในกรณีการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), 2563.
สำนักส่งเสริมพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. เทคนิคคลายเครียดโดยการฝึกการหายใจ (Breathing Exercise). เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2564, จาก https://dmh.go.th/download/politic_crisis/techno/.pdf.
กิตต์กวี โพธิ์โน. สยบเครียดด้วนวิธีผ่อนคลายกล้ามเนื้อ. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 13 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30332.
สำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. (มปป). เทคนิคการคลายเครียดแบบการใช้จินตนาการ (Visualization). นนทบุรี: สำนักบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาราณสุข.
กรมควบคุมโรค. มาตรการ DMHTT. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2564 จากhttps://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php.
ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์. การดำเนินงานสุขภาพจิตภายใต้วิกฤตโควิด 19 ของประเทศไทย. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 2563, 28(4): 280-91.
สำนักวิชาการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต หลักสูตรออนไลน์ การดูแลจิตใจในภาวะวิกฤตโควิด 19 (Online courses in mental care crisis COVID-19). [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.dmh.go.th/covid19/.
กรมสุขภาพจิต. แนวทางการดูแลสุขภาวะด้านจิตใจ Mental Health Package. นนทบุรี: บริษัทบียอนด์ พับลิชซิ่ง จำกัด, 2563.
ศูนย์สุขภาพจิตที่ 2 และโรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลก. แยกตัวที่บ้านอย่างไรให้มีความสุข. [อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2564, จาก https://www.mhc2.go.th/newweb/files/img/160214646502-2.1.jpg.
วรยุทธ นาคอ้าย, กมลนัทธ์ ม่วงยิ้ม, และเดชา วรรณพาหุล. กระบวนการมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคโควิด19 กรณีศึกษาผู้สูงอายุพฤฒิพลังชุมชนหนองตะโก. วารสารวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี; 2563, 14 (3).20-29.
กรมสุขภาพจิต. กรมสุขภาพจิตชี้คนไทยร่วมก้าวผ่านวิกฤต COVID-19 ได้ด้วย “สำนึกต่อสังคม-สังคมสมานฉันท์”.[อินเตอร์เน็ต].สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2564 จาก https://www.hfocus.org/content/2020/03/18617.