แนวทางการป้องกันผู้สูงอายุจากภาวะสมองเสื่อม

ผู้แต่ง

  • ชลิต เชาว์วิไลย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • วินัย พูลศรี
  • ธีรนันท์ ตันพาณิชย์

คำสำคัญ:

สมองเสื่อม, ผู้สูงอายุ, แนวทางการป้องกัน

บทคัดย่อ

ภาวะสมองเสื่อมเป็นความผิดปกติที่สมองทำงานด้อยลงจากเดิม จนมีผลกระทบต่อการทำงานหรือการใช้ชีวิตของบุคคลนั้น ๆ สมองเสื่อมทำให้ความรอบรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาดการตัดสินใจเปลี่ยนแปลงไปในทางลดลง ส่วนสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของภาวะสมองเสื่อมมีทั้งปัจจัยเสี่ยง ที่ปรับเปลี่ยนได้และปรับเปลี่ยนไม่ได้ โดยอาการสมองเสื่อมสามารถออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับเริ่มต้น ระดับกลาง จนถึงระดับรุนแรง ส่งผลกระทบต่อตัวผู้ที่มีอาการแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อสมาชิกใน ครอบครัวรวมถึงผู้ที่เข้ามารับหน้าที่ดูแลด้วย แนวทางการดูแลรักษาเพื่อบรรเทาอาการจากภาวะสมองเสื่อมโดยการรักษาโดยไม่ใช้ยาและการรักษาโดยการใช้ยา นอกจากนี้การออกกำลังกายยังช่วยเพิ่มการทำงานของสมองในผู้สูงอายุและ ชะลอการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

1. กรมสุขภาพจิต. (2563). ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข
2. วิลาสินี สุราวรรณ์. (2560). ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะ
สมองเสื่อมในผู้สูงอายุ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(2), 61-63.
3. The Alzheimer’s Association. (2012). 2012 Alzheimer’s disease facts and figures.
Alzheimer’s & Dementia, 8(2), 131-168.
4. มาโนช หล่อตระกูล และ ปราโมทย์สุคนิชย์(2555). จิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
5. ศรุตยา หาวงษ์, วีณา เที่ยงธรรม, และ สุธรรม นันทมงคลชัย. (2560). ผลของโปรแกรม
ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของ
ครอบครัว. วารสารพยาบาลสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล, 31(1), 110-128.
6. Kuroki H. (2001).Causes of dementia and bed-ridden state in elderly victims of road traffic accidents in Japan]. Nihon hoigaku zasshi : The Japanese journal of legal medicine.
7. Labrèche FP, Cherry NM and McDonald JC. Psychiatric-disorders and occupational exposure to solvents: British Journal of Industrial Medicine; 1992.
8. Leifer, B. P. (2009). Alzheimer's disease: Seeing the signs early. Journal of the American Academy of Nurse Practitioners, 21, 588–595.
9. Wang HK, Lin SH, Sung PS, Wu MH, Hung KW, Wang LC, et al. Population based study on patients with traumatic brain injury suggests increased risk of dementia:. Journal of neurology, neurosurgery, and psychiatry; 2012.
10. Cristina, M., Nelles, G., & Pientka, L. (2010). Prevention of dementia: Focus on lifestyles. International Journal of Alzheimer’s disease, 2010. Retrieved from http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/ articles/ PMC 2915647.
11. Rosenberg, P. B., Johnston, D., & Lyketsos, C. G., (2006). A clinical approach to mild cognitive impairment. American Journal of Psychiatry, 163,1884-1890. Rocca, W. A.,
12. Petersen, R. C., Knopman, D. S., Hebert, L. E., Evans, D. A., Hall, K. S., … White, L. R. (2011). Trends in the incidence and prevalence of Alzheimer’s disease, dementia, and cognitive impairment in the United States. Alzheimers Dement, 7(1), 80-93.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-06