ความรู้เกี่ยวกับเชื้อดื้อยา ทัศนคติ และพฤติกรรมป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4-6

ผู้แต่ง

  • ปวีณ์รัชต์ พานปฐมกุล
  • จิรัชญา ศรีนภาวงศ์
  • จิรวัฒน์ ฤทธิ์เดช
  • ชยุต วงศ์วิชยาภรณ์
  • ปภาดา อัศวกาญจน์
  • ศุภวิชญ์ พูลวณิชย์สกุล
  • รมณ อัศวกาญจน์
  • วรันธร ชีวะสุวรรณ
  • รณกร วัฒนกิตานนท์
  • ธนพร หน่องพงษ์
  • วิรดา เกียรติอาภาเดช
  • พลอยณภัส สิริภัสภักดี
  • วิรินท์ เฉลิมชัยชาญ
  • ศุจิมน มังคลรังษี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

คำสำคัญ:

การดื้อยา, พฤติกรรมการดื้อยาต้านจุลชีพ, พฤติกรรม, ความรู้, ยาปฏิชีวนะ

บทคัดย่อ

เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับเชื้อดื้อยาทัศนคติและพฤติกรรมป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาทำการเก็บข้อมูลในช่วง เดือนธันวาคม 2565 - มกราคม 2566 กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาคือนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปี 4-6 ที่สามารถ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ จำนวน 490 คน วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณาได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสมการวิเคราะห์ ถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis)

ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับเชื้อดื้อยาอยู่ระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 48.37ทางด้านทัศนคติส่วนใหญ่ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องนำไปสู่การดื้อยา แต่ส่วนน้อยที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับเชื้อดื้อยาจากการปนเปื้อน หรือยาปฎิชีวนะตกค้าง ในอาหาร และยังมีความเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ ยาแก้อักเสบ กับยาปฎิชีวนะ ร้อยละ 41.22 มีระดับทัศนคติอยู่ระดับปานกลาง โดยมีความเห็นด้วยอย่างยิ่งมากสุดเกี่ยวกับการรับประทานยาตามคำสั่งของแพทย์แต่มีความคิดเห็นด้วยอย่างยิ่งน้อยสุด  เกี่ยวกับหากเจ็บป่วยสามารถไปซื้อยามารับประทานเองได้เพราะเภสัชกรสามารถให้คำปรึกษาได้และร้อยละ53.9มีพฤติกรรมการป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาอยูระดับสูงพฤติกรรมที่ปฎิบัติเสมอส่วนใหญ่เกี่ยวกับด้านสุขอนามัยปัองกันการแพร่ กระจายเชื้อดื้อยาส่วนพฤติกรรมที่ปฎิบัติเสมอน้อยสุดเกี่ยวกับการไปพบแพทย์ทุกครั้งเมื่อเจ็บป่วยและการหาซื้อยา ปฎิชีวนะมารับประทานเองปัจจัยด้านความรู้เกี่ยวกับเชื้อดื้อยามีความสัมพันธ์ใชเชิงบวกกับทัศนคติต่อการป้องกันการ เกิดเชื้อดื้อยา(r=0.522,p<0.01)และพฤติกรรมป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา(r=0.203,p<0.01)อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทัศนคติต่อการป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยามีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับพฤติกรรมป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยา(r=0.456,p<0.01)อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมที่ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาและการป้องกันเชื้อดื้อยาในด้านสุขอนามัยแต่ ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการได้รับเชื้อดื้อยาจากอาหารและเข้าใจผิดเกี่ยวกับยาปฎิชีวนะรักษาอาการอักเสบผู้ ตอบแบบสอบถามยังมีทัศนคติต่อและพฤติกรรมการซื้อยามารับประทานเองได้เพราะสารมารถปรึกษาเภสัชกรได้เมื่อไป ซื้อยามารับประทานเองควรส่งเสริมการให้ความรู้เกี่ยวกับเชื้อดื้อยากับกลุ่มนักเรียนเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้มีความเข้าใจเพิ่ม มากขึ้นซึ่งจะนำไปสู่การมีทัศนคติ ที่ถูกต้อง และพฤติกรรมการป้องกันเชื้อดื้อยาที่ดีขึ้น

References

ศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ. NARST [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ; 2556 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://narst.dmsc.moph.go.th/news001.html

ไทยพีบีเอส.Thai PBS [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ไทยพีบีเอส; c2023 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipbs.or.th/news/content/311845

มูลนิธิภิวัฒน์สาธารณสุขไทย. เว็บไซต์ Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. อุดรธานี: มูลนิธิภิวัฒน์สาธารณสุขไทย; 2021[เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2021/11/23811

Centers for Disease Control and prevention. About Antimicrobial Resistance. [Internet]. USA: Center for Disease control and prevention; 2022 [cited 2023 February 20]. Available from: https://www.cdc.gov/drugresistance/about.html

World Health Organization. Antimicrobial resistance.[Internet]. Switzerland: World Health Organization; 2021. [cited 2023 February 20]. Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/antimicrobial-resistance

Mun Fai Loke, Aimi Hanafi. Molecular Mechanisms Responsible for Drug Resistance. Reference Module in Life Sciences Encyclopedia of Bioinformatics and Computational Biology [Internet]. 2019 [cited 2023 February 20]: 3; 926-931. Available from: https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/B9780128096338204676

กระทรวงสาธารณสุข,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ . แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 [อินเทอร์เน็ต].กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข; 2564 [เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก:. http://narst.dmsc.moph.go.th/documentation/AMR%20strategy%202560-2564.pdf

สุกฤตา มีตาทิพฐิ์. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ปีการศึกษา 2563. วารสารพยาบาลตำรวจ [อินเทอร์เน็ต]. ก.ค.-ธ.ค. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. 31(2): 388-396. เข้าถึงได้จาก: https://nc.rtaf.mi.th/images/pdf_research61/research64/6.pdf

พัชร์สณธิ์ อ่วมเกิด. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านในจังหวัดปทุมธานี [อินเทอร์เน็ต] [ปริญญานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร; 2560. [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2017/TU_2017_5714031027_8917_9195.pdf

ทัชชา คุ่ยสว่าง. ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองหล่ม อำเภอปางศิลาทอง จังหวัดกำแพงเพชร. [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก:. http://psthos.kpo.go.th/paper/2561/onepageปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ยาปฏิชีวนะปาง.pdf

วรวิทย์ นุ่มดี. พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในอำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ [อินเทอร์เน็ต]. ก.ค. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. 7(7): 213-228. เข้าถึงได้จาก: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/download/245007/165782/852431

นัชชา ยันติ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จังหวัดปทุมธานี. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) [อินเทอร์เน็ต]. พ.ค. -ส.ค. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. 7(2) : 57-66. เข้าถึงได้จาก: http://acad.vru.ac.th/Journal/journal%207_2/7_2_6.pdf

อรอุมา อินทนงลักษณ์. พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของประชาชนตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา [อินเทอร์เน็ต] [ปริญญานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยพะเยา; 2556. [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://www.updc.clm.up.ac.th/bitstream/123456789/1052/1/Ornum%20Inthanongluk.pdf

ศุภลักษณ์ สุขไพบูลย์, ชุภาศิริ อภินันท์เดชา, กวี ไชยศิริ, บรรณาธิการ. พฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของผู้รับบริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสร่างโศกอำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2: บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ความรู้ สู่ความยั่งยืน; 2559 มิ.ย. 17; วิทยาลัยนครราชสีมา. นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา; 2559. [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://journal.nmc.ac.th/th/admin/Journal/2559Vol4No1_53.pdf

สุวัฒน์ ปริสุทธิวุฒิพร, มัณฑนา เหมชะญาติ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะของผู้รับบริการในโรงพยาบาลขลุง จังหวัดจันทบุรี. วารสารศูนย์การศึกษาแพทย์ศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า [อินเทอร์เน็ต]. เม.ย. -มิ.ย. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2566]. 31(2) : 114-127. เข้าถึงได้จาก: https://drive.google.com/file/d/11fVt62Bf_KkO66Xk-adl0kDL2uSxfRyR/view

จิรชัย มงคลชัยภักดิ์, จิรวัฒน์ รวมสุข,เอมอร ชัยประทีป.การศึกษาความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะของผู้รับบริการในร้านยาชุมชนจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย[อินเทอร์เน็ต]. ก.ค.-ธ.ค. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2566]: 6(2); 91-100. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci/article/view/25729/21852

https://he01.tcithaijo.org/index.php/iudcJ/article/view/252047/172227

จิรชัย มงคลชัยภักดิ์, จิรวัฒน์ รวมสุข, เอมอร ชัยประทีป. การศึกษาความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะของผู้รับบริการในร้านยาชุมชนจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย [อินเทอร์เน็ต]. ก.ค.-ธ.ค. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]: 6(2): 91-100. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/EAUHJSci/article/view/25729/21852

Mungkalarungsi S, Tangjonrach K, Chaemnapa D, Wimuttigosol P, Buttamee N, Anakewat J, et al. Knowledge, attitude, and drug resistance preventive behavior among Thai people: A cross-sectional online study in Thailand. International Journal of Medical Science and Public Health [Internet]. 2021 [cited 2023 February 20]: 10(2); 205-211. Available from: https://www.ejmanager.com/mnstemps/67/67-1628491880.pdf?t=1631161057

จิดาภา รัตนถาวร.ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันการเกิดเชื้อดื้อยาของนักเรียนระดับชั้น ม.4-6 ในเขตกรุงเทพมหานคร.วารสารสถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2566]: ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2564 - สิงหาคม 2564; 111-124. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/iudcJ/article/view/249843/169954

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ วิกฤตและทางออกของสังคมไทย. HSRI Forum [อินเทอร์เน็ต]. มิ.ย. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]: 1(1 ): 1-16. เข้าถึงได้จาก:https://kb.hsri.or.th/dspace/bitstream/handle/11228/3917/hsri_forum_v1_n1_june2012.zip?sequence=1&isAllowed=y

บุญชม ศรีสะอาด. (2535). “การวิจัยเบื้องต้น”. พิมพลักษณ์, กรุงเทพมหานคร : สุริยาสาส์น

Wang J, Chen L, Yu M, He J. Impact of knowledge, attitude, and practice (KAP)-based rehabilitation education on the KAP of patients with intervertebral disc herniation. Annals Palliative Medicine [Internet]. 2020 Mar [cited 2023 February 20]; 9(2): 388-393. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/32233633/

บุรทิน ขำภิรัฐ. การพัฒนาเครื่องมือวิจัย [อินเทอร์เน็ต]. นครราชสีมา: สาขาวิชาศึกษาทั่วไป สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2555 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://cste.sut.ac.th/cste/web1/web/link/YtTHBZsmLQVq.pdf

ปราณี มีหาญพงษ์, สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์. การพัฒนาเครื่องมือวิจัยทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก [อินเทอร์เน็ต]. ม.ค.-เม.ย. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]: 22(1 ): 10-19. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/download/242019/168558/

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. ข้อมูลสถิติ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน [อินเทอร์เน็ต].กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://statbbi.nso.go.th/staticreport/Page/sector/TH/report/sector_08_4_TH_.xlsx

Mungkalarungsi S, Tangjonrach K, Chaemnapa D, Wimuttigosol P, Buttamee N, Anakewat J, et al. Knowledge, attitude, and drug resistance preventive behavior among Thai people:A cross-sectional online study in Thailand. International Journal of Medical Science and Public Health [Internet]. 2021 [cited 2023 February 20]: Vol 10 : Issue 2 ; 205-211. Available from: https://www.ejmanager.com/mnstemps/67/67-1628491880.pdf?t=1631161057

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-01