สถานการณ์ยาปฏิชีวนะตกค้างและสารเคมีปนเปื้อน ในอาหารสดจากร้านหมูกระทะ เขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2566

ผู้แต่ง

  • ณัฐภัทร วัฒนาสว่าง
  • จีราวัฒน์ กิตติอัมพานนท์
  • สกุลกาญจน์ สมบุญเพิ่ม
  • ปวริศา เทพเสนา
  • วลัยพรรณ ศรีทรัพย์
  • กฤชณัท ภัทร์วงศธร
  • กัญญารัตน์ เลิศลักษณ์ศิริกุล
  • อรกัญญา มีสมพืชน์
  • ชนพัฒน์ บุษบรรณ
  • โชติมา คำพวง
  • กิตติพัทธ์ ศุภกมลเสนีย์
  • ศุจิมน มังคลรังษี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

คำสำคัญ:

สารปนเปื้อน, อาหารสด, เนื้อสัตว์, ร้านหมูกระทะ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

เนื้อสัตว์เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารที่มีความสำคัญของมนุษย์ ทั้งมีรสชาติอร่อย และมีคุณค่าทางโภชนาการที่มีสำคัญต่อร่างกาย จากการศึกษาที่ผ่านมาตรวจพบสารเคมีตกค้างและสารเคมีปนเปื้อนในเนื้อสัตว์ชนิดต่างๆ ที่นำมาจำหน่ายให้ผู้บริโภค ร้านหมูกระทะเป็นร้านอาหารที่จำหน่ายวัตถุดิบเนื้อสัตว์สดที่หลากหลาย และเป็นที่นิยมของผู้บริโภค

ผู้วิจัยจึงสนใจตรวจสอบสารเคมีตกค้าง และปนเปื้อนในตัวอย่างเนื้อสัตว์สด ซึ่งเป็นที่นิยมในร้านหมูกระทะ โดยทำการศึกษาในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ การศึกษาครั้งนี้เป็นการตรวจสอบเนื้อสัตว์ 4 ประเภท ที่สุ่มจากร้านหมูกระทะ 10 ร้าน ประกอบไปด้วยเนื้อหมูสด เนื้อไก่สด เนื้อกุ้งสด และเนื้อปลาสด ประเภทละ 10 ตัวอย่าง รวมตัวอย่างทั้งหมด 40 ตัวอย่าง  โดยเนื้อหมูสด 10 ตัวอย่างนำมาตรวจหายาปฎิชีวนะตกค้าง สารเร่งเนื้อแดง ฟอร์มาลีน และบอแร็กซ์  เนื้อไก่สด 10 ตัวอย่างนำมาตรวจหายาปฎิชีวนะตกค้าง ฟอร์มาลีนและบอแร็กซ์ เนื้อกุ้งสดและเนื้อปลาสด อย่างละ 10 ตัวอย่าง นำมาตรวจหาฟอร์มาลีนและบอแร็กซ์ โดยใช้ชุดสอบยาปฎิชีวนะตกค้าง ชุดทดสอบสารเร่งเนื้อแดง ชุดทดสอบฟอร์มาลีน และชุดทดสอบบอแร็กซ์ ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

ผลการศึกษาพบว่า ตรวจพบ ยาปฎิชีวนะกลุ่ม Tetracycline, Macrolide, Aminoglycoside, Sulfonamide และ Penicillin ตกค้างในเนื้อหมูสด 2 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 20 และตรวจพบสารเร่งเนื้อแดงตกค้าง ในเนื้อหมูสด 7 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 70 สำหรับตัวอย่างเนื้อไก่สด ตรวจพบ ยาปฎิชีวนะกลุ่ม Tetracycline, Macrolide, Aminoglycoside, Sulfonamide และ Penicillin ตกค้าง ใน 7 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 70 ตรวจไม่พบฟอร์มาลีน ในตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 40 ตัวอย่าง  ตรวจพบสารบอแร็กซ์ ในปริมาณมากกว่า 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม (พีพีเอ็ม) ในตัวอย่าง เนื้อหมูสด ไก่สด กุ้งสด และปลาสด อย่างละ 1 ตัวอย่าง หากเด็กได้รับสารบอแร็กซ์เกินกว่า 5 มิลลิกรัม หรือในผู้ใหญ่ 15 มิลลิกรัมขึ้นไป ทำให้เกิดอันตรายได้ สรุปได้ว่าตรวจพบ ยาปฎิชีวนะตกค้าง สารเร่งเนื้อแดงตกค้าง บอแร็กซ์ปนเปื้อน  ในตัวอย่างเนื้อสด ที่นำมาศึกษา อย่างไรก็ดี สารเร่งเนื้อแดง และบอแร็กซ์เป็นสารที่ห้ามใช้ในอาหาร ผู้บริโภคควรมีการตรวจสอบที่มาของวัตถุดิบอาหารของร้านหมูกระทะก่อนตัดสินใจบริโภคหมูกระทะ เพื่อลดความเสี่ยงได้รับยาตกค้างและสารเคมีปนเปื้อนจากวัตถุดิบอาหารสดที่นำมาจำหน่ายในร้านหมูกระทะ

References

แผนกโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการูณย์ ; c2563 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/meats

พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ , นิธิยา รัตนาปนนท์. Food network solution [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท ฟูด เน็ทเวิร์ค โซลูชั่น จำกัด ; c2010-2023 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/001141/meat-เนื้อสัตว์

แผนกโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการูณย์ ; c2563 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/meats

พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ , นิธิยา รัตนาปนนท์. Food network solution [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท ฟูด เน็ทเวิร์ค โซลูชั่น จำกัด ; c2010-2023 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/001141/meat-เนื้อสัตว์

ใจพร พุ่มคำ. อาหาร (ไม่) ปลอดภัย ผลจากการใช้ยาปฏิชีวนะ. วารสารอาหารและยา [อินเทอร์เน็ต]. พ.ย.-ธ.ค. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 19(3); 8-11. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/fdajournal/article/download/138475/102928

รายการยาและสารเคมีภัณฑ์ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมประมง; 2563 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20200501103338_1_file.pdf

สรรเพชญ อังกิติตระกูล, พิทักษ์ น้อยเมล์, นริศร นางาม. การตรวจหายาปฏิชีวนะตกค้างในเนื้อสุกรในเขตเทศบาลนครขอนแก่น โดยวิธี Triple Medium Test with Trimethoprim. วารสารสัตวแพทยศาสตร์ มข. [อินเทอร์เน็ต]. 2545 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 12(1); 130-134. เข้าถึงได้จาก: https://vet.kku.ac.th/journal/jy1_17/12_1/18%20p130-134.pdf

จุฑาภรณ์ ใยทองคำ. สารเร่งเนื้อแดง [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักอนามัย; 2564 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://foodsanitation.bangkok.go.th/assets/uploads/document/document/20210225_53555.pdf

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนสารเคมีบางชนิดในอาหาร [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2563 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/20200821153350_new.pdf

หาหมอ.com [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: หาหมอ.com; c2011-2023 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://haamor.com/สารเร่งเนื้อแดง#:~:text=ป่วยวัยเด็ก-,มีอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้สารเร่ง,ตัวผู้บริโภค1กิโลกรัม%2Fวัน

Centner TJ, Alvey JC, Stelzleni AM. Beta agonists in livestock feed: Status, health concerns, and international trade. J Anim Sci [Internet]. 2014 [Cite 2023 June 20]: 92; 4234-4240. Available from: https://animaldairy.uga.edu/content/dam/caes-subsite/animal-dairy-science/documents/departmental-reports/2014-departmental-reports/Beta%20agonists%20in%20livestock%20feed.pdf

สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ; 2555 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hiso.or.th/hiso5/healthy/news.php?names=01&news_id=1894

สืบชาติ สัจจวาทิต. สารเร่งเนื้อแดง. จุลสารศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคเหนือตอนล่าง [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 12(45); 1-8. เข้าถึงได้จาก: https://vrd-sn.dld.go.th/webnew/images/stories/service/Brochure/year58/Y12No45.pdf

Newnham DM. Asthma medications and their potential adverse effects in the elderly: recommendations for prescribing. Drug Saf. [Internet]. 2001 [Cite 2023 June 20]: 24(14); 1065-80. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/11735662/

ทินกร ไฝเพชร. การตรวจสารฟอร์มาลินในอาหารทะเล บริเวณพื้นที่ตลาด อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 2(2); 26-36. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JCCPH/article/download/242265/166025/

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ [อินเทอร์เน็ต]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2561 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://archive.lib.cmu.ac.th/full/T/2561/inma90661trpky_ch1.pdf

สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://foodsafety.moph.go.th/_WEBADMIN2/uploads/n_file/204b399wd734ggsks0.pdf

วิภาวัลย์ บัวศรียอด, นุสบา นามวงศ์, สว่างพงษ์ เรืองศรี, เขมจิรา กัญญะลา, นูรฮูดา สุวรรณนุรักษ์, ลัดดาวัลย์ พะวร, มาลินี ธานี, ปาริชาติ อ้นองอาจ, อรอุมา จันทร์เสถียร. การตรวจหาฟอร์มาลินในน้ำแช่อาหารทะเลในตลาดจังหวัดนครราชสีมา. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 7 นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและสังคม ในยุคดิจิตอล; 2563; วิทยาลัยนครราชสีมา. นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา; 2563 http://journal.nmc.ac.th/th/admin/Journal/2563Vol12No1_96.pdf

พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ , นิธิยา รัตนาปนนท์. Food network solution [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท ฟูด เน็ทเวิร์ค โซลูชั่น จำกัด ; c2010-2023 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/001141/meat-เนื้อสัตว์

สุริยน ตันตราจิณ. Thai news [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์ ; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://thainews.prd.go.th/th/news/print_news/TCATG221005144928080

Thitima. สถาบันวิจัยระบบสารธารณสุข [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยระบบสารธารณสุข; 2015 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hsri.or.th/people/media/care/detail/6037

ใจพร พุ่มคำ. อาหาร (ไม่) ปลอดภัย ผลจากการใช้ยาปฏิชีวนะ. วารสารอาหารและยา [อินเทอร์เน็ต]. พ.ย.-ธ.ค. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 19(3); 8-11. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/fdajournal/article/download/138475/102928

สุวพิชชา ผลพอตน, อาชวัถร ชินวสุสิน ภัยลี้, วริทธิ์ วิริยประสิทธิ์ชัย, พิสิษฐ์ เตชะพรอนันต์. การตรวจสอบยาปฏิชีวนะตกค้างในเนื้อหมูสด และเนื้อไก่สดที่จําหน่ายในตลาดสดในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม และจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน [อินเทอร์เน็ต]. ต.ค.-ธ.ค. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 8(4); 35-44. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ajcph/article/view/257129/177264

รพีพัฒน์ นาคีภัย, สุพัตรา บุตราช, สุขกมล เกตุพลทอง. อัตราอุบัติการณ์สารกลุ่มเตตราซัยคลินตกค้างในกุ้งเขตพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก [อินเทอร์เน็ต]. ม.ค.-มิ.ย. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 14(1); 66-73. เข้าถึงได้จาก: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/researchjournal2rmutto/article/download/247770/171964/885973

วันเพ็ญ นภาทิวาอำนวย. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2017 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=40932

วิเชียร ผิวคำ, ปฏิญญา ธีระวิวัฒนกิจ. การตรวจหาสารเรงเน่ ื้อแดงในสุกรจังหวัดบุรีรัมย์ระหว่างปีงบประมาณ 2555-2559. [อินเทอร์เน็ต]. บุรีรัมย์: สํานักงานปศุสัตว์; 2562 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://pvlo-brr.dld.go.th/Data/doc3_290519.pdf

สุทิน ฉากมงคล, มนต์วจี ชูดวง. การเฝ้าระวังการใช้สารเร่งเนื้อแดงในสุกรในจังหวัดอุตรดิตถ์ปีงบประมาณ 2555 – 2557. [อินเทอร์เน็ต]. อุตรดิตถ์: สํานักงานปศุสัตว์; 2558 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://region6.dld.go.th/webnew/pdf/Full%20paper2.pdf

Google.com [Internet]. USA; Google; 2023 [Cite 2023 June 20]. Available from: https://www.google.com/ search?tbs=lf:1,lf_ui:9&tbm=lcl&sxsrf=AB5stBgNsmtRF7zxeXW_cGbFITUWJ9nf0A:1690357099043&q=หมูกระทะ+อำเภอเมือง+สมุทรปราการ&rflfq=1&num=10&sa=X&ved=2ahUKEwihhbrz7quAAxWW-jgGHXQkAyEQjGp6BAgXEAE&biw=1536&bih=739&dpr=1.25#rlfi=hd:;si:;mv:[[13.6704539,100.83689400000002],[13.4989646,100.50286240000001]];start:120

Asianmedic [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท เอเซียนเมดิก จำกัด; 2017 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://asianmedic.com/wp-content/uploads/2017/07/ยาปฏิชีวนะและสารต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อสัตว์.pdf

มาสเตอร์ แล็บ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท บี สมาร์ท ซายเอ็นซ์ จำกัด; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://drive.google.com/file/d/1QcUNXtF0YVG19rlzknLFhl9k41CJNNXZ/view

บี สมาร์ท ซายเอ็นซ์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท บี สมาร์ท ซายเอ็นซ์ จำกัด; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bsmartsci.com/product/215/ชุดทดสอบสารเร่งเนื้อแดงสารซาลบูทามอล

M&P Impex [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็มแอนด์พี อิมเป็กซ์; c2022 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.mpimpex.co.th/product/ชุดทดสอบฟอร์มาลีน-น้ำยาดองศพ-ในอาหาร/11000339797002599

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://bqsf.dmsc.moph.go.th/bqsfWeb/wp-content/uploads/2017/06/test-kit/1-borax.pdf

M&P Impex [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็มแอนด์พี อิมเป็กซ์; c2022 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.mpimpex.co.th/product/ชุดทดสอบบอแรกซ์-ผงกรอบ-ในอาหาร/11000339797002099

สุริยน ตันตราจิณ. Thai news [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์ ; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://thainews.prd.go.th/th/news/print_news/TCATG221005144928080

สุวพิชชา ผลพอตน, อาชวัถร ชินวสุสิน ภัยลี้, วริทธิ์ วิริยประสิทธิ์ชัย, พิสิษฐ์ เตชะพรอนันต์. การตรวจสอบยาปฏิชีวนะตกค้างในเนื้อหมูสด และเนื้อไก่สดที่จําหน่ายในตลาดสดในเขตกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม และจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน [อินเทอร์เน็ต]. ต.ค.-ธ.ค. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 8(4); 35-44. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ajcph/article/view/257129/177264

เจษฎา จิวากานนท์, เสรี แข็งแอ, สาธร พรตระกูลพิพัฒน์, วีรพล ทวีนันท์, สรรเพชร อังกิติตระกูล. ยาปฏิชีวนะตกค้างในเนื้อสุกรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารสัตวแพทยศาสตร์ มข. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 31(1); 45-51. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkuvetj/article/view/250392/170953

อนงค์ บิณฑวิหค, ดานิศ ทวีติยานนท์. ยาต้านจุลชีพตกค้างในเนื้อไก่ เนื้อสุกร และน้ำนมโคในประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์การแพทย์ [อินเทอร์เน็ต]. 2545 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 16(2); 75-84. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaiscience.info/journals/Article/JHRE/10893780.pdf

กัญยา อาษายุทธ. สำนักงานปศุสัตว์เขต 1 [อินเทอร์เน็ต]. ปทุมธานี: สำนักงานปศุสัตว์เขต 1; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://region1.dld.go.th/webnew/images/stories/standard_farm/tranning_standard2016/pig_standard.pdf

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กําหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : ข้อปฏิบัติการควบคุมการใช้ยาสัตว์ ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. ๒๕๕๑ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.acfs.go.th/standard/download/veterinary_drug.pdf

กองสารวัตรและกักกัน [อินเทอร์เน็ต]. ปทุมธานี: กองสารวัตรและกักกัน; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://aqi.dld.go.th/webnew/index.php/th/news-menu-2/19-activity-aqi2/351-acti-carcasses

ไทยรัฐ ออนไลน์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท เทรนด์ วีจี3 จำกัด; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thairath.co.th/scoop/interview/2699568

ไทยโพสต์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท สารสู่อนาคต จำกัด; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipost.net/economy-news/244040/

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/071265/#:~:text=กรมอนามัย%20กระทรวงสาธารณสุข%20เตือน,หรือทั้งจำทั้งปรับ

ไทยพีบีเอส [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipbs.or.th/news/content/322202

กรุงเทพธุรกิจ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป จำกัด; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bangkokbiznews.com/health/well-being/1042814

มาลินี ฉินนานนท์. การวิเคราะห์ปริมาณบอแรกซ์ในเนื้อสัตวและลูกกชิ้นที่จำหน่ายในจังหวัดตรัง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ [อินเทอร์เน็ต]. ม.ค.-มิ.ย. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2566]: 11(1); 55-61. เข้าถึงได้จาก: https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/rmutk/article/download/147202/108448/393701

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-07