ปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นไทย: การวิเคราะห์บทบาทของการศึกษาและบทบาทของการส่งเสริมสุขภาพทางเพศ

ผู้แต่ง

  • ศุจิมน มังคลรังษี -
  • รวิษฎา เชียงสอน

คำสำคัญ:

วัยรุ่น, โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, การศึกษาเรื่องสุขภาพทางเพศ

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเพศในวัยรุ่นไทยและผลกระทบจากการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STIs) ต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีของวัยรุ่น โดยวัยรุ่นเป็นช่วงเวลาสำคัญของการพัฒนาทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งในช่วงนี้มักมีการสำรวจและทดลองทางเพศสัมพันธ์มากขึ้น อย่างไรก็ตาม การขาดการศึกษาและความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพทางเพศและการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สามารถนำไปสู่ปัญหาสุขภาพที่รุนแรงได้ เช่น การติดเชื้อ HIV/เอดส์ ซิฟิลิส และโรคหนองใน การศึกษานี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมเพื่อตรวจสอบปัจจัยเสี่ยงและผลกระทบของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นไทย โดยเน้นบทบาทของการศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพทางเพศ ผลการวิเคราะห์สรุปเป็นแนวทางพัฒนานโยบายและโปรแกรมการศึกษาเพื่อเพิ่มทักษะการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพทางเพศ

การศึกษาพบว่าวัยรุ่นไทยส่วนใหญ่มีความรู้และทัศนคติที่จำกัดเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยและการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การใช้ถุงยางอนามัยที่ไม่สม่ำเสมอและการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย งานวิจัยนี้ยังเน้นถึงความจำเป็นในการปรับปรุงการศึกษาเรื่องสุขภาพทางเพศ โดยเฉพาะในด้านการให้ความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดและการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการพัฒนานโยบายและการศึกษาเพื่อเพิ่มความตระหนัก และการป้องกันตนเองจากความเสี่ยงติดโรคทางเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นไทย ซึ่งจะช่วยลดการแพร่กระจายของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และส่งเสริมผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดีในกลุ่มเยาวชน

References

Konggumnerd R, Sindhu S and Tongkong C. Perceptions of severity and risk of acquiring sexually transmitted diseases among Thai female adolescents. J Nurs Sci. 2012;30(1):61-69. Available from:

https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/download/10234/9271

จุฑาทิพย์ ยอดสง่า, มณีวรรณ ดาบสมเด็จ, เกศิณี หาญจังสิทธิ์, ภคิน ไชยช่วย และ อุรารัช บูรณะคงคาตรี. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคซิฟิลิสของนักศึกษาอาชีวศึกษา. วารสารวิชาการสาธารณสุขและการศึกษาเพื่อสุขภาพ. 2564;1(2):58-62.

กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข. การศึกษาความรอบรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตสำหรับวัยรุ่นอายุ 10-19 ปี. กรุงเทพมหานคร: กรมอนามัย; 2562. ค้นเมื่อ 24 ส.ค. 2567, จาก https://rh.anamai.moph.go.th/th/news-anamai/download/?did=211675&id=98256&reload=

Hope Across the Globe. The impact of STDs on mental health: Addressing the emotional side of diagnosis. (2023, April 4). [cited 2024 Aug 24]. Available from: https://hopeacrosstheglobe.org/the-impact-of-stds-on-mental-health/

Delva, D. Social implications of sexually transmitted diseases. Canadian Family Physician, 1983; 29 [cited 2024 Aug 24]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2153904/

Eng, T. R., & Butler, W. T. Institute of Medicine (US) Committee on Prevention and Control of Sexually Transmitted Diseases. (1997). The neglected health and economic impact of STDs. National Academies Press.

Supa, K., Salang, L., Werawatakul, Y., Khampitak, K., & Wattanakamolchai, K. KAP Study on Contraception of First Year Male Students in Khon Kaen University. Thai Journal of Obstetrics and Gynaecology. 2015; 23: 172-182 from: https://citeseerx.ist.psu.edu/document?repid=rep1&type=pdf&doi=21e0dcd988133a19579acd8da629a772b667463f

อิสรีย์ ปัดภัย, ภาวิณี แสนชนม์, เทพไทย โชติชัย, ศันสนีย์ จันทะสุข, ณิชกานต์ มีลุน และ วนิดา ศรีพรหมษา. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพทางเพศกับพฤติกรรมป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. SCN Journal 2565;9(1):297-309. จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/scnet/article/view/251585/172102

MedPark Hospital. โรคเอดส์ (HIV/AIDS) [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567] จาก: https://www.medparkhospital.com/disease-and-treatment/hiv-aids

สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย. ความรู้สำหรับประชาชนโรคเอดส์ในเด็กและประชาชน [อินเตอร์เน็ต].2566. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567 จาก: https://www.pidst.or.th/A731.html

รพีพรรณ รัตนวงศ์นรา. ทำความรู้จักโรคติดเชื้อ HIV เอชไอวี [อินเตอร์เน็ต]. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. 2564: 39. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567 จาก: https://www.rama.mahidol.ac.th/atrama/issue039/health-station

โรงพยาบาลบางกอก 3. HIV กับ เอดส์ ต่างกันอย่างไร? [อินเตอร์เน็ต]. 2565. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก:

https://www.bangpakok3.com/care_blog/view/234

โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 9 แอร์พอร์ต. โรคหนองใน [อินเตอร์เน็ต]. 2023. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก:

https://ch9airport.com/th/โรคหนองใน/

Medpark Hospital. โรคหนองใน [อินเตอร์เน็ต]. 2566. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.medparkhospital.com/disease-and-treatment/gonorrhea

มูลนิธิหมอชาวบ้าน. โรคหนองใน คืออะไร? [อินเตอร์เน็ต]. 2561. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก:

https://www.thaihealth.or.th/โรคหนองใน-คืออะไร/

Pobpad. หนองในเทียม [อินเตอร์เน็ต]. 2022. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.pobpad.com/หนองในเทียม

HDmall. หนองในเทียม: อาการ สาเหตุ วิธีการป้องกัน [อินเตอร์เน็ต]. 2560. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567 จาก:

https://hdmall.co.th/c/chlamydia-trachomatis-disease-and-treat

Bangkok Safe Clinic. โรคซิฟิลิส (syphilis) คืออะไร สาเหตุการเกิด อาการ วิธีรักษาและการป้องกัน [อินเตอร์เน็ต]. 2023. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.bangkoksafeclinic.com/th/โรคซิฟิลิส/

ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย (คลีนิคนิรนาม). ซิฟิลิส ภัยใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม [อินเตอร์เน็ต]. 2023. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://th.trcarc.org/syphilis/

Bumrungrad Hospital. โรคซิฟิลิส [อินเตอร์เน็ต]. 2567. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.bumrungrad.com/th/conditions/syphilis

โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราชการุณ. รู้เท่าทัน ป้องกัน โรคซิฟิลิส [อินเตอร์เน็ต]. 2564. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/syphilis

Bangkok Safe Clinic. แผลริมอ่อนคืออะไร เกิดจากอะไร รักษายังไงให้หายดี [อินเตอร์เน็ต]. 2023. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.bangkoksafeclinic.com/th/chancroid/

หาหมอ.com. แผลริมอ่อน (Chancroid) [อินเตอร์เน็ต]. 2565. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://haamor.com/แผลริมอ่อน

Pobpad. แผลริมอ่อน [อินเตอร์เน็ต]. 2022. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.pobpad.com/แผลริมอ่อน

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. กามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง (Lymphogranulomavenereum) [อินเตอร์เน็ต]. 2562. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก : https://ddc.moph.go.th/disease_detail.php?d=34

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (HISO). สถานการณ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ [อินเตอร์เน็ต]. 2562. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://www.hiso.or.th/thaihealthstat/analysis/10health/53_62/53_62_3.pdf/โรคติดต่อทาง,เป็นร้อยละ%

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. กรมควบคุมโรค แนะเยาวชนยึดหลัก Start Safe SEX, Use Condom : รักปลอดภัย เริ่มที่ "ถุงยางอนามัย" [อินเตอร์เน็ต]. 2565. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก:

https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=23352&deptcode=brc&news_views=จากสถานการณ์

Fleming DT and Wasserheit JN. From epidemiological synergy to public health policy and practice: the contribution of other sexually transmitted diseases to sexual transmission of HIV infection. Sexually Transmitted Infections [Internet]. 1998. [cited 2024 Aug 25];75(1):3-17. Available from: https://sti.bmj.com/content/75/1/3

สุภาพร สมบัติ. การศึกษาความรอบรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตสำหรับวัยรุ่น อายุ 10 - 19 ปี [อินเตอร์เน็ต]. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2563. ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567, จาก: https://rh.anamai.moph.go.th/th/news-anamai/download/?did=211675&id=98256&reload=2016.4%2C%2011.9%2C

Minichiello V, Scott J, Grov C, Patel V. The Role of Social Science in Shaping the Sexually Transmitted Diseases (STI) Discourse. In: Wright JD, editor. International Encyclopedia of the Social & Behavioral Sciences. 2nd ed. Springer; 2023. [Internet]. [cited 2024 Aug 25]. Available from: https://link.springer.com/referenceworkentry/10.1007/978-3-031-25110-8_76

H Jackson. HIV / AIDS, STDs and the workplace. [Internet]. AIDS STD Health Promot Exch. 1995:(2):1-3. [cited 2024 Aug 25]. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/12289834/#:~:text=HIV%2FAIDS%20costs%20for%20formal,recruitment%3B%20and%20low%20morale%20from

Holmes KK, Bertozzi S, Bloom BR, et al. Washington (DC): The International Bank for Reconstruction and Development / The World Bank; 2017 [cited 2024 Aug 25]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK525195/

มาลี สบายยิ่ง. ค่านิยมทางเพศ และพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคเอดส์ของเยาวชนชาย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารประชากรศาสตร์ 2545 : 18(1); 1-15.

รัชนี เสนาน้อย และเสาวคนธ์ วีระศิร. ความเครียดและการปรับตัวของครอบครัวที่มีบุคคลติดเชื้อเอชไอวี/โรคเอดส์: การวิเคราะห์กรณีตัวอย่างโดยใช้ทฤษฎีการคืนสภาพครอบครัว. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2562 :39(4); 120-128.

ชวนชม สกนธวัฒน์ มานพ คณะโต พิเชฏฐ์ เหลืองทองคำ ชูศรี ดูชัยสิทธิ์ และคณะ. การศึกษาความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติเกี่ยวกับทางเพศการเจริญพันธุ์ และ การคุมกำเนิดในวัยรุ่น : ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนอาชีวในจังหวัดขอนแก่น. Srinagarind Hosp Med J 1990;5(2): 73-81.

โรงพยาบาลบางปะกอก 3. 4 โรคติดต่ออันตรายที่มากับเพศสัมพันธ์. [อินเตอร์เน็ต]. 2566. [ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567] จาก: https://www.bangpakok3.com/care_blog/view/251

กณิกาพร บุญชู คนึงเดช เชื่อมวราศาสตร์ และปุณยนุช พิมใจใส. การรับรู้ ค่านิยม และพฤติกรรมทางเพศ ของหญิงตั้งตั้งครรภ์วัยรุ่น อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2555: 18(1); 110-125.

อรรถพล ภูอาษา. ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและการใช้สารเสพติดของวัยรุ่น อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์.วารสารสํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น 2564: 28(3).

IHPP Thailand. มองรอบด้าน “นักดื่มวัยรุ่น กับ แม่ในวัยเรียน” [อินเตอร์เน็ต]. 2554. [ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567] จาก:https://www.thaihealth.or.th/wp-content/uploads/2012/01/256.pdf

นิศารัตน์ ศรณรงค์. ปัจจัยความเชื่อด้านสุขภาพที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจเข้าใช้บริการตรวจสุขภาพที่คลินิกแล็บ ในเขต อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช. บทความวิชาการค้นคว้าอิสระ คณะบริหารธุรกิจ. 2563;1-12.

Alsaleh FM, Elzain M, Alsairafi ZK, Naser AY. Perceived knowledge, attitude, and practices (KAP) and fear toward COVID-19 among patients with diabetes attending primary healthcare centers in Kuwait. Int J Environ Res Public Health. 2023;20(3):2369. doi: 10.3390/ijerph20032369. PMCID: PMC9916070. PMID: 36767736.

วสศ. เปิดพื้นที่คุยเรื่องเพศในห้องเรียนที่ปลอดภัย ลดปัญหาคุณแม่วัยใส. [อินเตอร์เน็ต]. 2564. [ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567] จาก: https://research.eef.or.th/teen-mom/

นิตยา เพ็ญศิรินภา. ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกับหลักสูตรเพศศึกษารอบด้าน. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน. 2546: 7(3); 1-16.

Hfocus. วิจัย สจล. ตอกย้ำความล้มเหลวให้ความรู้เพศศึกษาในวัยรุ่น [อินเทอร์เน็ต]. 2560. [ค้นเมื่อ 25 ส.ค. 2567]. จาก: https://www.hfocus.org/content/2017/02/13439

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-02-13