การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภาวะสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเขตสุขภาพที่ 8 ประเทศไทย
คำสำคัญ:
ภาวะสุขภาพจิต, คุณภาพชีวิต, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อระบุสถานการณ์ภาวะสุขภาพจิต ระดับคุณภาพชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพจิตกับคุณภาพชีวิต ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเขตสุขภาพที่ 8 ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือ อสม. ในเขตสุขภาพที่ 8 ประเทศไทย จำนวน 880 คน ใช้การวิเคราะห์การถดถอย โลจิสติกแบบพหุระดับ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต ของ อสม. ในเขตสุขภาพที่ 8 ประเทศไทย ได้แก่ การมีความเครียด ( = 2.52; 95% CI: 1.64 - 3.29) การมีภาวะซึมเศร้า ( = 4.72; 95% CI: 4.01 - 8.16) มีปัญหาเกี่ยวกับงานที่ทำ ( = 1.80; 95% CI: 1.01 - 1.93) รายจ่ายเฉลี่ย 10,001 - 20,000 บาทต่อเดือน ( = 1.93 ; 95% CI: 1.07 - 2.49) และ ≤ 10,000 บาทต่อเดือน ( = 1.63; 95% CI: 1.11 - 2.38) การเจ็บป่วยเล็กน้อย ( = 1.92; 95%CI: 1.21- 2.44) และเจ็บป่วยปานกลาง - รุนแรง ( = 1.98; 95%CI: 1.15 - 3.41) การไม่เคยได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพ ( = 1.80; 95%CI: 1.16 - 2.22) ผู้ที่รับผิดชอบงานอยู่มากกว่า 2 งาน ( = 1.62 ;95%CI: 1.00 - 2.64) ความสำคัญของค่าตอบแทน ( = 2.20 ;95% CI: 1.54 - 3.14) ผู้ที่มีความคาดหวังในการให้ได้ค่าตอบแทน( = 2.59 ;95%CI: 1.74 - 3.84) และความรู้สึกต่อเพื่อนร่วมงาน ( =1.51; 95%CI: 1.06 - 2.15) ความเครียดและภาวะซึมเศร้ามีอิทธิพลต่อระดับคุณภาพชีวิตอย่างมาก ควรให้ความสำคัญต่อการสร้างความเข้าใจและวิธีการจัดการความเครียดและภาวะซึมเศร้าอย่างเหมาะสม เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของ อสม. ต่อไป
References
กรมควบคุมโรค. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php
World Health Organization. Coronavirus Disease (COVID-19) . [Internet]. 2022. [cited 2022 March 22]. Available from: https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/question-and-answers-hub/q-a-detail/coronavirus-disease-covid-19
กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19. [อินเทอร์เน็ต] . 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.รายงานประจำปีกรมสุขภาพจิตปีงบ ประมาณ2561. กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข; 2561
กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน. ระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน. [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaiphc.net/new2020/content/1
Hsieh FY, Bloch DA, Larsen MD. A simple method of sample size calculation for linear and logistic regression. Statistics in Medicine 1998; 17(14): 1623-34.
World Health Organization [WHO]. WHOQOL-BREF: Introduction, admini stration, scoring and generic version of the assessment: field trial version. [Internet]. 1996 [cited 2022 March 22]. Available from: https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/63529/WHOQOLBREF.pdf?sequence=1
Cohen S, Kamarck T, Mermelstein R. A global measure of perceived stress. Journal of Health and Social Behavior 1983; 24(4): 385- 96.
Radloff LS. The CES-D scale: A self-report depression scale for research in the general population. Applied psychological measurement 1977; 1(3): 385-401.
Hosmer WD, Lemeshow S. Applied Logistic Regression. 2nd ed. The United States of America: John Willey & Sons; 2000.
Nadim W, AlOtaibi A, Al-Mohaimeed, A, Ewid M, Sarhandi M, Saquib J, Saquib N. Depression among migrant workers in Al-Qassim, Saudi Arabia. J Affect Disord 2016; 206: 103-8.
World Health Organization [WHO]. Orientation programmed on adolescent health for health-care providers. [Internet]. 2006 [cited 2022 March 22]. Available from: https://apps.who.int/iris/handle/10665/42868.
Ramos AK, Carlo G, Grant K, Trinidad N, Correa A. Stress, depression, and occupational injury among migrant farmworkers in Nebraska. Safety 2016; 2(4): 23.
Liddle J, McKenna K. Quality of life: An overview of issues for use in occupational therapy outcome measurement. Australian Occupational Therapy Journal 2000; 47(2): 77-85.
ญาณิภา จันทร์บำรุง. ปัจจัยในการปฏิบัติงานที่มีความสัมพันธ์กับความ เครียดของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัท บางกอกกล๊าส จำกัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2555.
Quick JC, Quick JD. Organizational stress and preventive management. New York: McGraw-Hill; 1984.
เบญจมาศ อิ่มมาก. คุณภาพชีวิตและความเครียดในการปฏิบัติงานที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติ งานของพนักงานในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทำความเย็น. [วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2558.
Wong WK, Chou KL, Chow NW. Correlates of quality of life in new migrants to Hong Kong from Mainland China. Soc Indic 2012; 107(2): 373-91.
Parker L, Moran GM, Roberts LM, Calvert M, McCahon D. The burden of common chronic disease on health-related quality of life in an elderly community-dwelling population in the UK. Family Practice 2014; 31(5):557-63.
พรรณชนก เดชสิงห์. การศึกษาคุณภาพชีวิตและสมดุลการทำงานในพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2560.
กัลยา กังสนันท์, วิภาวรรณ กลิ่นหอม.คุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชนเขตพื้นที่ 1 จังหวัดนครศรีธรรมราช. WMS Journal of Management 2560; 6(2):72-82.
ปรางทิพย์, ภักดีคีรี ไพรวัลย์. คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านแสนตอ หมู่ 11 ตำบลท่าผา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. [วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์; 2559.
Moons P, Budts W, Geest SD. Critique on the conceptualization of quality of life: a review and evaluation of different conceptual approaches. International Journal of Nursing Studies 2006; 43(7): 891–901.
คะนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, พิจิตรา เล็กดำรง, พรพรรณ วนวโรดม, วันทกานต์ ราชวงศ์. ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทาง สังคม สถานภาพทางการเงิน พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งเต้านมระหว่างได้รับรังสีรักษา. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2557; 32(1): 15-27.
Assana S, Laohasiriwong W, Rangseekajee P. Quality of Life, Mental Health and Educational Stress of High School Students in the Northeast of Thailand. J Clin Diagn Res. 2017;11(8): VC01-VC06.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว