การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แบบ Home Isolation ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านหนองแดง ตำบลใหม่นาเพียง อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • ธิติมา โตโส
  • ลำพึง วอนอก
  • ธีรศักดิ์ พาจันทร์

คำสำคัญ:

รูปแบบการดูแลผู้ติดเชื้อ, ไวรัสโคโรนา 2019, Home Isolation

บทคัดย่อ

       การวิจัยเชิงปฏิบัติการมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ พัฒนารูปแบบ และศึกษาผลของรูปแบบการดูแลผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แบบ Home Isolation (HI) ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหนองแดง ตำบลใหม่นาเพียง อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่าง 31 คน คัดเลือกจากผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนแบบจำเพาะเจาะจง ดำเนินการวิจัยเป็น3 ระยะ เก็บข้อมูลโดยใช้แนวทางการสนทนากลุ่ม บันทึกการสังเกตแบบมีส่วนร่วม แบบรายการตรวจสอบ แบบประเมินความพึงพอใจที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 ข้อมูลคุณภาพวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนา ในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบ Home Isolation ประกอบด้วย 9 ขั้นตอนดังนี้ 1) ประชาชนตรวจ ATK ได้ผลบวก 2) ผู้ติดเชื้อแจ้ง อสม. ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 3) ลงทะเบียนผู้ป่วยในระบบบริการสุขภาพ 4) ประเมินอาการ สีแดงส่งโรงพยาบาลชุมชน สีเขียวเข้าระบบ HI 5) ญาติ เพื่อนบ้าน และ อสม.จัดเตรียมที่พัก 6) ลงทะเบียนผู้ป่วยในระบบ HI 7) ส่งอาหาร ยา เวชภัณฑ์    ให้ผู้ป่วยโดยญาติ เพื่อนบ้านและ อสม. 8) เยี่ยมเชิงรุกและโทรศัพท์เพื่อตรวจสอบอาการ หากดีขึ้นให้กักตัวจนครบตามเกณฑ์ หากอาการทรุดส่งรักษาต่อโรงพยาบาล 9) ให้ออกจากระบบ HI เมื่อครบการรักษา ผู้ติดเชื้อและญาตินำขยะติดเชื้อส่ง รพ.สต. ผลประเมินการใช้รูปแบบพบว่ามี 3 เกณฑ์ที่ดำเนินการได้ 100% (ระยะเวลาในการรายงาน การลงทะเบียนในระบบและการจัดหาที่พัก) ในด้านความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 87.10

References

เอกสารอ้างอิง (Reference)

World Health Organization. Director-General's opening remarks at the media briefing on COVID-19. [Internet]. 2020. [Cited 2022 Jan 25]. Available from: https://www.who.int/director-general/ speeches/detail/who-director-general- s-opening-remarks-at-the-media-brief ing-on-covid-19---11-march-2020

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คืออะไร. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https:// ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php

World Health Organization. ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับไวรัสโควิดสายพันธุ์โอมิครอน. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม 2565]; Available from: https:// www.who.int/thailand/news/detail/29-11-2021-Update-on-Omicron

World Health Organization. Tracking SARS-CoV-2 variants, [Internet]. 2022. [Cited 22 Jan 31]. Available from: https://www.who.int/activities/tracking-SARS-CoV-2-variants

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. การกลายพันธุ์ของโรคโควิด-19. [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://chulalongkornhospital.go.th/ kcmh/line/การกลายพันธุ์ของโรคโควิด-19

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 อัพเดท รายวัน. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 10 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https:// ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ข้อมูลเชิงวิเคราะห์รายจังหวัด. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 10 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: https:// ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น. สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 5 จังหวัดขอนแก่น. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 10 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก: http:// www.khonkaen.go.th/khonkaen6/COVID19/

ขอนแก่นลิงก์. สถานการณ์โควิค-19 ขอนแก่น. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 31 พฤษภาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.khonkaenlink.info/covid 19- khonkaen/

โรงพยาบาลแวงใหญ่. DMS Home Isolation. [อินเทอร์เน็ต]. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 29 มกราคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://homeisolation.hii.in.th/member/bed

ไพฑูรย์ มาเมือง, คงฤทธิ์ แข็งแรง, ชูเกียรติ ผลาผล. มาตรการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม. ตุลาคม - ธันวาคม 2563; 289: 289-297

Jaffar A.Al-Tawfiq, HatimKheir, TalalAl- Dakheel, SaeedAl-Qahtani, Hussain AlKhadra, AhlamSarhan, et.al. COVID-19 home monitoring program Healthcare innovation in developing, maintaining, and impacting the outcome of SARS- CoV-2 infectedpatients. Travel Medicine and Infectious Disease. 2021; 102089: 1: 1- 6

นภชา สิงห์วีรธรรม, นพมาส เครือสุวรรณ. ความจำเป็นกลุ่มเสี่ยงและการจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูและดูแลประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 นอกสถานพยาบาล กรณีศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก. วารสาร เครือข่ายวิทยาลัย พยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. กันยายน - ธันวาคม 2563; 1: 1 - 8

ภัทรพล จึงสมเจตไพศาล, สันติ ทวยมีฤทธิ์. การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานของ อสม.ในการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุข. พฤษภาคม - มิถุนายน 2564; 490: 490 - 499

อัมพร เที่ยงตรงดี, ระนอง เกตุดาว, ภาสินี โทอินทร์. การพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รพ.สต. จังหวัดอุดรธานี- Udon Model COVID-19.วารสาร วิชาการสาธารณสุข. มกราคม - กุมภาพันธ์ 2564; 53: 53 – 61

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-08