การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง : แนวทางสำหรับการพัฒนาการให้เหตุผลทางคลินิกสำหรับนักศึกษาพยาบาล

ผู้แต่ง

  • ฆนรส อภิญญาลังกร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
  • จักรกฤษณ์ จันทะคุณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • เบญจวรรณ กันยานะ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
  • โยษิตา จรัสรัตนไพบูลย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี แพร่
  • อัจฉรา มีนาสันติรักษ์ วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง, การให้เหตุผลทางคลินิก, นักศึกษาพยาบาล

บทคัดย่อ

โลกแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันส่งผลให้ปัญหาทางสุขภาพมีความหลากหลายและซับซ้อนมากขึ้น ผู้รับบริการมีความคาดหวังต่อการบริการที่เห็นผลลัพธ์ชัดเจน จำเป็นที่พยาบาลต้องมีกระบวนการคิดวิเคราะห์ และให้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาผู้รับบริการการให้เหตุผลทางคลินิกจึงเป็นหนึ่งในสมรรถนะที่สำคัญสำหรับพยาบาล ที่ช่วยรวบรวมวิเคราะห์ ข้อมูลสุขภาพที่ซับซ้อน เพื่อวางแผนการพยาบาลและตัดสินใจในการดูแลให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีแก่ผู้ป่วยสถาบันการศึกษาที่ผลิตพยาบาลจึงจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนไป วัตถุประสงค์ของบทความนี้จึงต้องการนำเสนอแนวคิดที่พัฒนานักศึกษาพยาบาลให้มีความสามารถในการให้เหตุผลทางคลินิก ได้แก่ ความสำคัญของการให้เหตุผลทางคลินิก แนวทางการส่งเสริมการให้เหตุผลทางคลินิกองค์ประกอบการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการให้เหตุผลทางคลินิกในนักศึกษาพยาบาล และการประเมินความสามารถในการให้เหตุผลทางคลินิก

References

Moorhead et al. A New Dimension of Health Care: Systematic Review of the Uses, Benefits, and Limitations of Social Media for Health Communication. Journal of Medical Internet Research 2013; 15(4): 85 – 97.

วีรศักด์ิ พุทธาศรี และวณิชา ชื่นกองแก้ว. รายงานการประชุมวิชาการประจำปีระดับชาติ การพัฒนาการศึกษาสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพ. กรุงเทพฯ: พี เอ ลีฟวิ่ง จำกัด; 2560.

พรชัย ดีไพศาลสกุล. ความคาดหวัง และการรับรู้ของผู้รับบริการต่อคุณภาพบริการโรงพยาบาล . Veridian E – Journal SU 2556; 6(1) : 573 – 92.

Rosalinda. Critical Thinking, Clinical Reasoning, and Clinical Judgment Philadelphia: Lippincott Willims & Wilkins; 2017.

Using Combined Teaching Modalities to Enhance Nursing Students’ Recognition and Response to Clinical Deterioration. Nursing Education Perspectives 2015; 36(3) : 194 – 96.

Lapkin, S., Levett - Jones, T., Bellchambers, H. et al. Effectiveness of patient simulation manikins in teaching clinical reasoning skills to undergraduate nursing students: a systematic review. Clinical Simulation in Nursing 2016; (6) : 207 – 22.

กฤษดา แสวงดี. แผนปฏิรูปกำลังคนและภารกิจด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข. นนทบุรี: สื่อตะวัน; 2562.

สำนักงานวิจัยและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ. โครงการวิจัยเพื่อสังเคราะห์ทางเลือกและข้อเสนอเชิงนโยบายในการวางแผน ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศใน ทศวรรษหน้า. นนทบุรี :สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2560.

Fonteyn, M. E., & Ritter, B. J. Clinical Reasoning in Nursing. In Higgs. J., Jones, M., Loftus, S., & Christensen, N. (Eds.), Clinical Reasoning In The Health Professions China: Elsevier Butterworth Heinemann; 2019.

Mariano C. Holistic Nursing: Scope and Standards of Practice. In Dossey B. M. & Keegan L. (Ed), HOLISTIC NURSING A handbook for Practice (6th ed.) The United States of America: Jones & Bartlett Learning, LLC, an Ascend Learning Company; 2013.

สภาการพยาบาล. พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: ศิริยอดการพิมพ์; 2553.

วรรณี ตปนียากร จินดามาศ โกศลชื่นวิจิต กัลยารัตน์ อนนท์รัตน์ และคณะ. ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการให้เหตุผลทางคลินิกของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 2559; 10(1) : 70 – 7.

Michelle, et al., Clinical Reasoning Assessment Methods: A Scoping Review and Practical Guidance. Academic Medicine 2019; 94(6) : 902 – 12.

Kuiper, R., O’donnell, S., Pesut, D, J., et al. The Essentials of Clinical Reasoning for Nurse: Using the Outcome-Present State-Test Model for Reflective Practice. Bost: EBSCO Publishing; 2017.

ธนา นิลชัยโกวิทย์ และอดิศร จันทรสุข. ศิลปะการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง คู่มือกระบวนกรจิตตปัญญาศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด; 2559.

Taylor, E, W. Fostering Transformative Learning. In Mezirow, J., Taylor,E, W., & Associates (Ed.), Transformation Learning in Practice: insights from Community, Workplace, and Higher Education. San Francisco: Jossey Bass; 2009.

วิจารณ์ พานิช . การเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative learning. กรุงเทพฯ: บริษัทเอสอาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด; 2558.

McAlllister, M., Oprescu, F., Downer, T., et al. Evaluating star-a transformative learning framework: Interdisciplinary action research in health training. Educaitional Action Research 2013; 21(1) : 90 – 106.

Narayan, S., & Corcoran-Perry, S. Teaching clinical reasoning in nursing education. In Higgs. J., Jones, M., Loftus, S., & Christensen, N. (Eds.), Clinical Reasoning In The Health Professions China : Elsevier Butterworth Heinemann; 2019.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30