บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้ห่างไกล จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
คำสำคัญ:
ผู้สูงอายุ, การดูแลผู้สูงวัย, โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019, โรคโควิด 19, บทบาทของพยาบาลบทคัดย่อ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีการแพร่ระบาดในวงกว้างในปัจจุบัน โดยเฉพาะการระบาดระลอกที่สามที่ระบาดเร็ว ติดเชื้อง่ายขึ้น อาการรุนแรงและเสียชีวิตมากยิ่งขึ้นโดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ “ผู้สูงอายุ” ถือเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และก่อให้เกิดอาการที่รุนแรงตามมาได้เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยที่ร่างกายเสื่อมถอย ประกอบกับผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเรื้อรังเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและโรคมะเร็ง ทำให้มีความเสี่ยงเกิดอาการอย่างรุนแรงและเสียชีวิตมากกว่ากลุ่มวัยอื่น ทั้งนี้
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุทั้งในด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต สังคม และเศรษฐกิจ ดังนั้น จึงเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อบทบาทของพยาบาลในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนให้ห่างไกลจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ครอบคลุมทั้งด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งการเข้ารับวัคซีนโควิด 19 เพื่อลดความรุนแรงและเสียชีวิต
References
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 Coronavirus Disease 2019 (COVID-19). [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จากhttps://ddc.moph.go.th /viralpneumonia/g_km.php.
Omer SB., Malani P. and del Rio C. The COVID-19 Pandemic in the US: A Clinical Update. JAMA. [Online]. (2020). [Cited 26 Jan 2021]. Available from https://jamanetwork.com/journals/jama/ fullarticle/2764366.
Onder G., Rezza G. and Brusaferro S. Case-Fatality Rate and Characteristics of Patients Dying in Relation to COVID-19 in Italy. JAMA. [Online]. (2020). [Cited 26 Jan 2021]. Available from https: //jamanetwork.com/journals/jama/fullarticle/2763667.
Niu S., Tian S., Lou J., et al. Clinical Characteristics of Older Patients Infected with COVID-19: A Descriptive Study. Arch Gerontol Geriatr. [Online]. (2020). [Cited 26 Jan 2021]. Available from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/32339960/.
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.). วช. และ มหิดล เปิดเผยผลการศึกษา ผู้สูงอายุเสี่ยงที่สุดจากโรคโควิด-19. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 มกราคม2564]. เข้าถึงได้จาก https://www. nrct.go.th/news/วช-และ-มหิดล-เปิดเผยผลการศึกษา-ผู้สูงอายุเสี่ยงที่สุดจากโรคโควิด-19.
Wu Z. and McGoogan JM. Characteristics of and Important Lessons from the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Outbreak in China: Summary of a Report of 72, 314 Cases from the Chinese Center for Disease Control and Prevention. JAMA 2020; 323: 1239 – 42.
ยศ วัชระคุปต์ และสมชัย จิตสุชน. ผลกระทบของโควิด-19 ต่อผู้สูงอายุ. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก https://tdri.or.th/2020/09/the-impact-of-covid-19-on-older-persons/.
ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค. รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 ฉบับที่ 454 วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 12.00น.[ออนไลน์]. (2564). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 3 เมษายน 2564]. เข้าถึงได้จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/situation_more.php.
Jheon S., Ahmed A.DB., Fang V. WT., et al. General thoracic surgery services across Asia during the 2020 COVID-19 pandemic. Asian Cardiovascular & Thoracic Annals (2020); 0(0): 1 – 7.
Alexander GC. and Qato DM. Ensuring Access to Medications in the US During the COVID-19 Pandemic. JAMA. [Online]. (2020). [Cited 26 Jan 2021]. Available from https://jamanetwork .com/ journals/jama/fullarticle/2764562.
Lloyd-Sherlock P., Ebrahim S., Geffen L., et al. Bearing the brunt of covid-19: older people in low and middle income countries. BMJ. [Online]. (2020). [Cited 26 Jan 2021]. Available from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/32169830/.
Chan A., Malhotra C., Malhotra R. and Ostbye T. Living arrangements, social networks and depressive symptoms among older men and women in Singapore. Int J Geriatr Psychiatry 2011; 26: 630 – 9.
Valtorta NK., Kanaan M., Gilbody S. et al. Loneliness and social isolation as risk factors for coronary heart disease and stroke: systematic review and meta-analysis of longitudinal observational studies. Heart 2016; 102: 1009 – 16.
Zhong BL., Chen SL. and Conwell Y. Effects of Transient versus Chronic Loneliness on Cognitive Function in Older Adults: Findings from the Chinese Longitudinal Healthy Longevity Survey. Am J Geriatr Psychiat 2016; 24: 389 – 98.
Wang C., Pan R., Wan X., et al. Immediate Psychological Responses and Associated Factors during the Initial Stage of the 2019 Coronavirus Disease (COVID-19) Epidemic among the General Population in China. Int J Environ Res Public Health 2020; 17: 1729.
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. สูงวัยพิจิตรปรับตัวปรับใจในวิกฤติโควิด-19. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2564]. เข้าถึงได้จากhttps://infocenter .nationalhealth.or.th/node/28144.
UNFPA Thailand. บทสรุปผู้บริหาร ผลกระทบโควิด-19 ต่อผู้สูงอายุ. [ออนไลน์]. (2020). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564]. เข้าถึงได้จาก https://thailand.unfpa.org/th/covid-op.
Isabel O. and Matthew C. Global Inequality: Beyond the Bottom Billion - A Rapid Review of Income Distribution in 141 Countries. New York: United Nations Children’s Fund (UNICEF); 2011.
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564]. เข้าถึงได้จาก https://covid19.anamai. moph.go.th/webupload/2xdccaaf3d7f6ae30ba6ae1459eaf3dd66/m_document/ 6734/34105/file_download/f58d7f01402d9b74c9c1982f80665644.pdf.
สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุขและคณะ. แนวทางการดูแลผู้สูงอายุในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อโควิด-19. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564]. เข้าถึงได้จาก https://www. chiangmaihealth.go.th/cmpho_web/document/ 200416158702377373.pdf
Jiménez-Pavón D., Carbonell-Baeza A., and Lavie C.J. Physical exercise as therapy to fight against the mental and physical consequences of COVID-19 quarantine: Special focus in older people. Progress in Cardiovascular Diseases. [Online]. (2020). [Cited 26 Jan 2021]. Available from https://pubmed.ncbi.nlm .nih.gov/32220590/
Middleton A., Simpson K.N., Bettger J.P., Bowden M.G. COVID-19 Pandemic and Beyond: Considerations and Costs of Telehealth Exercise Programs for Older Adults With Functional Impairments Living at Home—Lessons Learned From a Pilot Case Study. [Online]. (2020). [Cited 26 Jan 2021]. Available from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7239185/.
กรมสุขภาพจิต. แบบประเมินความเครียด [Stress test-5:ST5]. [ออนไลน์]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2564]. เข้าถึงได้จาก https://www.dmh.go.th /test/qtest5/.
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการคัดกรอง/ประเมินผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์สงเคราะห์องค์การทหารผ่านศึก; 2557.
พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์และแพรว ไตลังคะ. รายงานย่อมุมมองด้านสุขภาพจิตและจิตสังคมของการระบาด COVID-19. มปท; 2563.
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการสร้างวัคซีนใจในชุมชนภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19. กรุงเทพฯ : บริษัท บียอนด์ พับลิสชิ่ง จํากัด; 2563.
ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ. การดำเนินงานสุขภาพจิตภายใต้วิกฤตโควิด 19 ของประเทศไทย. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2563; 28(4): 280 – 91.
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมสุขภาพจิต. แนวทางการฟื้นฟูจิตใจในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) [Combat 4th Wave of COVID-19: C4]. นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต; 2563.
กองส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต. แนวทางการดูแลจิตใจผู้สูงอายุ ในสถานการณ์ โควิด-19 สำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ/อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน (อสม.). กรุงเทพฯ: บริษัท พรอสเพอรัสพลัส จำกัด; 2563.
แจ่มจันทร์ รีละชาติ ชาลี ศิริพิทักษ์ชัย จารุวรรณ ชุปวา และคณะ. การศึกษาวิจัยแนวทางการลดหนี้สินเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนกรณีศึกษา: บ้านดอนหันและบ้านดอนหันพัฒนา ตำบลท่าสองคอน จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ 2555; 5 (1): 50 – 64.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว