สัดส่วนการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของผู้ป่วยติดเชื้อโควิด 19 ที่เข้ารับการรักษาแบบแยกกักตัวที่บ้านในโรงพยาบาลตติยภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • คงฤทธิ์ ภิญโญวิวัฒน์ -
  • นวลฉวี เพิ่มทองชูชัย
  • รังสิมา บำเพ็ญบุญ
  • นภัค ด้วงจุมพล

คำสำคัญ:

โควิด 19, การรักษาแบบแยกกักตัวที่บ้าน, การเข้ารักษาในโรงพยาบาล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสัดส่วนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ของผู้ติดเชื้อโควิด 19 ที่เข้ารับการรักษาด้วยการรักษาแบบแยกกักตัวที่บ้าน รูปแบบการศึกษาเป็นแบบ Retrospective case-control ประชากรในการศึกษา ได้แก่ ผู้ป่วยโควิด 19 ที่เข้ารับการรักษาแบบแยกกักตัวที่บ้าน ในช่วงมกราคม-เมษายน พ.ศ.2565 จำนวน 6,362 ราย เก็บข้อมูลจากการทบทวนเวชระเบียนย้อนหลัง

ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่รักษาแบบแยกกักตัวที่บ้านครบกำหนด 10 วัน จำนวน 6,262 ราย (98.43%) ส่วนน้อยเข้ารักษาต่อในโรงพยาบาลจำนวน 110 ราย (1.73%) กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 36.18 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 15.66) และส่วนใหญ่ (82.73%) ไม่มีโรคประจำตัว สาเหตุของการติดเชื้อหลักมาจากบุคคลในครอบครัวหรือญาติ (25.45%) และที่ทำงาน (20.73%) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล วิเคราะห์โดยใช้ Multiple Logistic Regression พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรคหัวใจ (Adjusted OR = 9.54, 95%CI 2.18-41.71, p-value < 0.01) โรคเบาหวาน (Adjusted OR = 3.43, 95%CI 1.43-8.22, p-value < 0.01) อาการไข้ (Adjusted OR = 13.89, 95%CI 6.29-30.69, p-value < 0.01) และอาการเหนื่อย/หายใจไม่อิ่ม (Adjusted OR = 7.14, 95%CI 2.54 -20.04, p-value < 0.01) การศึกษานี้ ชี้ให้เห็นประโยชน์ของการรักษาแบบแยกกักตัวที่บ้าน ในการรักษาผู้ป่วยจำนวนมากในช่วงที่มีภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ และยังไม่พบประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของผู้ป่วย  อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงควรได้รับการติดตามอาการใกล้ชิดโดยแพทย์ การเตรียมพร้อมในการรับผู้ป่วยที่มีอาการเปลี่ยนแปลงมารับการรักษาในโรงพยาบาลในภาวะฉุกเฉินมีความจำเป็นอย่างยิ่ง

References

World Health Organization. WHO-convened Global Study of Origins of SARS-CoV-2: China Part. [Online]. (2021). [cited 1 Oct 2022]. Available from https://www.who.int/docs/default-source /coronaviruse/final-joint-report_origins-studies-6-april201.pdf?sfvrsn=4f5e5196_ 1&download=true

World Health Organization. Novel Coronavirus (2019-nCoV) Situation report -1. [Online]. (2020). [cited 1 Oct 2022]. Available from https://www.who.int /docs /default-source/coronaviruse/situation-reports/20200121-sitrep-1-2019-ncov.pdf

World Health Organization. Coronavirus disease (COVID-19). [Online]. (2022). [cited 12 Jun 2023]. Available from https://www.who.int/health-topics/ coronavirus#tab=tab_1

กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ภายในประเทศ Interactive dashboard. [ออนไลน์]. (2565). [เข้าถึง เมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง (ฉบับที่ 3). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 139 ตอนพิเศษ 223 ง. (ลงวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2565); 2565.

กระทรวงสาธารณสุข. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยกเลิกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2563 พ.ศ.2565. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 139 ตอนพิเศษ 223 ง. (ลงวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2565); 2565.

Center for Disease Control and Prevention. Covid 19 Isolation. [Online]. (2022). [cited 12 Jun 2023]. Available from: https:/ /www.cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/ your-health/isolation .htm l#:~ :text = If%20you%20test%20positive%20for,unable%20to%20wear%20a%20mask.

Maricopa County Department of Public Health. General Population: Home Isolation Guidance for People Who Test COVID-19 Positive or Have Symptoms Consistent with COVID-19. [Online]. (2022). [cited 12 Jun 2023]. Available from: https://www.maricopa.gov/ Document Center/View/ 58863/Home-Isolation-Guidance?bidId=

County of San Diego Health and Human Services Agency. Home Isolation Instructions for Coronavirus Disease 2019 (COVID-19). [Online]. (2022). [cited 12 Jun 2023]. Available from: https:// www.sandiegocounty.gov/content/dam/sdc/hhsa/programs/phs/Epidemiology/COVID%20Home%20Isolation%20Instructions%20for%20COVID-19.pdf

Government of Dubai. Isolation Guideline for Confirmed COVID-19 Cases. [Online]. (2022). [cited 12 Jun 2023]. Available from https://www.dha.gov.ae/ar /uploads/ 062022/Isolation %20Guideline% 20For% 20Confirmed%20Cases202235461.pdf

Government of India. Revised guidelines for Home Isolation of mild /asymptomatic COVID-19 cases. [Online]. (2022). [cited 12 Jun 2023]. Available from https://www.mohfw.gov.in/pdf/Revised IllustratedGuidelinesforHomeIsolationof MildAsymptomaticCOVID19Cases.pdf

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ในการให้คำแนะนำป่วยและการจัดบริการผู้ป่วยโควิด-19 แบบ Home Isolation ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564. [ออนไลน์]. (2564). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: https:// ddc.Moph.go.th/viralpneumonia/file/ g_health_care/home_isolation_010764.pdf

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง 4 สิงหาคม 2564. [ออนไลน์]. (2564). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http:// covid19.dms.go.th/backend///Content//Content_File/Covid_Health/Attach /25640804171629PM_CPG_COVID_v.17_n_20210804.pdf

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. การจัดบริการ HOME ISOLATION กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. [ออนไลน์]. (2565). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http:// covid19.dms.go.th/ backend///Content//Content_File/Covid_Health/Attach/25650105180407PM_80%E0%B8%9B%E0%B8%B5HomeIso.pdf

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ในการให้คำแนะนำผู้ป่วยและการจัดบริการผู้ป่วยโควิด 19 แบบ Home Isolation ฉบับปรับปรุง วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2565. [ออนไลน์]. (2565). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://covid19 .dms.go.th/backend/// Content//Content_File/Covid_Health/Attach/ 25650105175718PM_%E0%B9 %81% E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87homeIso.pdf

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง 1 มีนาคม 2565. [ออนไลน์]. (2565). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://covid19.dms .go.th/ backend///Content//Content_File/Covid_Health/Attach /25650301194159 PM _ CPG_COVID-19_v.20.4_N_ 20220301 .pdf

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง 22 มีนาคม 2565. [ออนไลน์]. (2565). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก: http:// covid19.dms.go.th/backend///Content//Content_File/Covid_Health/Attach /25650324144250PM_CPG%2022%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2.pdf

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง 22 เมษายน 2565. [ออนไลน์]. (2565). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก http:// covid19.dms.go.th/backend///Content//Content_File/Covid_Health/Attach /25650422162203PM_CPG_COVID-19_n_v.22_20220422.pdf

Phattharapornjaroen, P., Carlström, E., Sivarak, O., et al. A. Community-based response to the COVID-19 pandemic: case study of a home isolation centre using flexible surge capacity. Public Health 2022; 211: 29 – 36.

Afshari P, Beheshti-Nasab M, Maraghi E, Sadeghi S, Sanjari N and Zarea K (2022) Home care in COVID-19 patients with the home-quarantined condition: A study from Iran. Front. Public Health 2022; 10 : 952618.

Park JJ, Seo YB, Lee J, et al. Protocol and clinical characteristics of patients under ‘at-home care’ for COVID-19 in South Korea: a retrospective cohort study. BMJ Open 2022; 12 : 061765.

Parven N, Abbasi M, Siddiqui E, Awan S, Akhtar MN, Sikandar R. Home Quarantine Among COVID Positive Health Professionals: A Cross-Sectional Study From Hyderabad Pakistan. Pak Armed Forces Med J 2022; 72(2): 543 – 6.

Dean AG, Sullivan KM, Soe MM. OpenEpi: Open Source Epidemiologic Statistics for Public Health; 2022.

Kelsey JL, Whittemore AS, Evans AS, Thompson WD. Methods in Observational Epidemiology. Oxford University Press; 1996.

Arunpongpaisal S, Kongsuk T, Maneethorn N, et al. Development and validity of two-question screening test for depressive disorders in Northeastern Thai community. Asian J Psychiatr 2009; 2: 149 – 52.

Center for Disease Control and Prevention. SARS-CoV-2 Variant Classifications and Definitions [Online]. (2023). [cited 12 Jun 2023]. Available from https:// www. cdc.gov/coronavirus/2019-ncov/variants /variant-classifications.html

Esteban OO, Charlie G and Max R. Time Use. [Online]. (2020). [cited 12 Jun 2023]. Available from https://ourworldindata.org /time-use

กระทรวงแรงงาน. พระราชบัญญิติเงินทดแทน พ.ศ.2537. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 111 ตอนที่ 28 ก. (ลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2537); 2537.

กระทรวงแรงงาน. พระราชบัญญิติเงินทดแทน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2561. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 135 ตอนที่ 80 ก. (ลงวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2561); 2561.

กองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม. แนวปฎิบัติ กรณีลูกจ้างติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). [ออนไลน์]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 12 มิถุนายน 2566]. เข้าถึงได้จาก: http:// www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER39/DRAWER075/GENERAL/DATA0000/00000904.PDF

Havers FP, Pham H, Taylor CA, et al. COVID-19-Associated Hospitalizations Among Vaccinated and Unvaccinated Adults 18 Years or Older in 13 US States, January 2021 to April 2022. JAMA Intern Med. 2022;182(10): 1071 – 81.

เชิดศักดิ์ เพิ่มปัญญาและเจนจิรา บุราคร. เปรียบเทียบผู้ป่วยโควิด-19 กลุ่มเสี่ยง (608) ที่ได้รับวัคซีนและไม่ได้รับวัคซีน ในโรงพยาบาลแก้งคร้อ. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 2565; 8(2): 124 – 35.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-01-22