แนวทางการวินิจฉัยโรคหืดที่เกี่ยวกับการทำงานตามมาตรฐานต่าง ๆ
คำสำคัญ:
โรคหืดจากการทำงาน, โรคหืดที่เกี่ยวกับงาน, การวินิจฉัยโรคหืดที่เกี่ยวกับงาน, การป้องกันและเฝ้าระวังทางการแพทย์ในโรคหืดที่เกี่ยวกับงานบทคัดย่อ
โรคหืด เป็นโรคที่พบได้มากถึง 3-5 % ในผู้ใหญ่ และโรคหืดที่เกี่ยวกับการทำงาน พบ 15-25 % ในช่วงผู้ใหญ่ โรคหืดที่เกี่ยวกับการทำงาน เป็นโรคที่สามารถป้องกัน การวินิจฉัยที่รวดเร็ว จะช่วยให้สามารถหาแนวทางป้องกัน เพื่อลดความรุนแรงและอัตราการเสียชีวิตได้ อย่างไรก็ตามจากการศึกษาพบว่า โรคหืดที่เกี่ยวกับทำงานเป็นโรคที่มีการวินิจฉัยที่น้อยกว่าความเป็นจริงการวินิจฉัยโรคหืดที่เกี่ยวกับการทำงาน มีความแตกต่างกันในแต่ละประเทศ และแต่ละมาตรฐาน บทความนี้ได้ทบทวนองค์ความรู้ ทั้งมุมมองด้านวิชาการ และด้านกฎหมาย เพื่อสรุป รวบรวมแนวทางใน การวินิจฉัยโรคหืดที่เกี่ยวกับงานจากมาตรฐาน ต่าง ๆ และรวบรวมแนวทางการ การเฝ้าระวังทางการแพทย์ และสิทธิประโยชน์ที่ผู้ป่วยควรจะได้รับ เพื่อนำมาเปรียบเทียบ และสามารถใช้เป็นข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจในการวินิจฉัยได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อ แพทย์ประจำสถานประกอบการ และแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วย
References
Ellis PR, Walters GI. Missed opportunities to identify occupational asthma in acute secondary care. Occupational medicine (Oxford, England) 2018; 68(1) : 56 – 9.
MacKinnon M, To T, Ramsey C, Lemière C, Lougheed MD. Improving detection of work-related asthma: a review of gaps in awareness, reporting and knowledge translation. Allergy, Asthma & Clinical Immunology 2020; 16(1) : 73.
Trivedi V, Apala DR, Iyer VN. Occupational asthma: diagnostic challenges and management dilemmas. Current opinion in pulmonary medicine 2017; 23(2): 177 – 83.
Tarlo S, Boulet L-P, Cartier A, Cockcroft D, Côtè J, Hargreave F, et al. Canadian Thoracic Society Guidelines for Occupational Asthma. Canadian respiratory journal : journal of the Canadian Thoracic Society 1997; 5: 289 – 300.
ผู้ป่วยโรคหืด 80% มีภูมิแพ้จมูกอักเสบร่วม ชี้ฝุ่น PM2.5 ปัจจัยหนึ่งกระตุ้น. [ออนไลน์]. (2567). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 มกราคม 2567] เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/ content/2023/03/27334.
Tarlo SM, Balmes J, Balkissoon R, Beach J, Beckett W, Bernstein D, et al. Diagnosis and management of work-related asthma: American College Of Chest Physicians Consensus Statement. Chest 2008;134(3 Suppl): 1s - 41s.
Santos MS, Jung H, Peyrovi J, Lou W, Liss GM, Tarlo SM. Occupational asthma and work-exacerbated asthma: factors associated with time to diagnostic steps. Chest 2007;131(6): 1768 – 75.
Poonai N, van Diepen S, Bharatha A, Manduch M, Deklaj T, Tarlo SM. Barriers to diagnosis of occupational asthma in Ontario. Can J Public Health 2005; 96(3): 230 – 3.
Sangjumrus N, Occupational asthma in textile worker: A case report. Disease Control Journal. 2021;(3): 654 – 42.
Jolly AT, Klees JE. ACOEM PRACTICE GUIDELINES Work-Related Asthma. American College of Occupational and Environmental Medicine; 2015.
Tarlo SM, Lemiere C. Occupational asthma. N Engl J Med 2014;370(7): 640 – 9.
Christopher Michael B, Paul C, Johanna F, David F, Jennifer H, Hayley M, et al. British Thoracic Society Clinical Statement on occupational asthma. Thorax 2022;77(5) : 433.
Occupational Asthma. ILO Encyclopedia of occupational Health & Safety. [Online]. (2020). [cited 1 January 2024]. Available from:https://www.iloencyclopaedia.org/part-i-47946/respiratory-system/item/412-occupational-asthma
เบญจวัง โยธิน. มาตรฐานการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน ฉบับเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา: สำนักงานกองทุนเงินทดแทน สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน; 2007.
Baur X, Sigsgaard T, Aasen TB, Burge PS, Heederik D, Henneberger P, et al. Guidelines for the management of work-related asthma. Eur Respir J 2012; 39(3): 529 – 45.
Moscato G, Malo JL, Bernstein D. Diagnosing occupational asthma: how, how much, how far? Eur Respir J 2003; 21(5): 879 – 85.
Santiago Quirce M, Joaquín Sastre, MD, Diagnosis of Occupational Asthma: World allergy organization. [Online]. (2005). [cited 1 January 2024]. Available from: https://www. worldallergy.org/education-and-programs/education/allergic-disease-resource-center/professionals/diagnosis-of-occupational-asthma.
Kurt T.Hegmann Maa. Occupational/work-related asthma medical treatment guideline. American College of Occupational and Environmental Medicine; 2016.
Kurt T.Hegmann Maa. Occupational/Work Related Asthma: American College of Occupational and Environmental Medicine. [Online]. (2020). [cited 1 January 2024]. [Available from: https:// www.dir.ca.gov/dwc/MTUS/ACOEM-Guidelines/Occupational-Work-Related-Asthma-Guideline.pdf.
สำนักงานกองทุนเงินทดแทน. คู่มือการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพอย่างถาวรทางกายและจิต: สำนักงานประกันสังคม; 2021.
Gochfeld M. Medical surveillance and screening in the workplace: complementary preventive strategies. Environ Res 1992;59(1) : 67 – 80.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงสาธารณสุข
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา และบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว