พฤติกรรมการฆ่าตัวตายสำเร็จของประชาชนอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการฆ่าตัวตายสำเร็จ, ประชาชนบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาพฤติกรรมการฆ่าตัวตายสำเร็จของประชาชนอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 14 คนซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดกับผู้เสียชีวิต จำนวน 14 คนได้แก่ สามี ภรรยา พ่อ แม่ ลุง ป้า น้าและหรือ อา สุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บข้อมูลในพื้นที่อำเภอเขื่องใน ดำเนินการวิจัย ระหว่างวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2562 ถึง 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และ การสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลใช้ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) ขั้นตอนการฆ่าตัวตายสำเร็จ มีดังนี้ ขั้นตอนที่หนึ่งผู้ตายใช้เชือกผูกที่คานไม้ ขั้นตอนที่สองผู้ตายก้าวขึ้นเหยียบสิ่งรองรับ ขั้นตอนที่สามผู้ตายเอาเชือกผูกที่คอตนเอง ขั้นตอนที่สี่ผู้ตายกระโดดลงจากสิ่งที่รองรับ ขั้นตอนที่ห้าผู้ตายถูกเชือกรัดคอเท้าสูงจากพื้น 2) วิธีการฆ่าตัวตาย ได้แก่ การแขวนคอและใช้ปืนยิงตัวเอง 3) สาเหตุการฆ่าตัวตาย มีดังนี้ ปัญหาชู้สาว ปัญหาด้านสุขภาพ ปัญหายาเสพติด ผิดคำสาบาน จิตใจ ทะเลาะกับคนใกล้ชิด และมีประวัติพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน ดังนั้น ญาติควรให้ความสนใจกับผู้ที่จะฆ่าตัวตาย ไม่ดุด่า และคอยให้กำลังใจเขา
References
นันทิรา หงส์ศรีสุวรรณ์. ภาวะซึมเศร้า. วารสาร มฉก.วิชาการ.2559;19(3):105.
Paris J. Chronic suicidality among patients with borderline personality disorder. Psychiatric services (Washington, D.C.). 2002;27(3):738-42.
World Health Organization. Preventing Suicide:A Global Imperative.[n.p.]:World Health Organization;2014.
World Health Organization. Suicide rates data by country.[internet].2012 [cited 2015 Mar 23]. Available from: http://apps.who.int/gho/data/node.main.MHSUICIDE?lang=en
Department of Mental Health, Ministry of Public Health.10 provinces, the highest rate of suicide in Thailand.[internet].2015 [cited 2016 May 13]. Available from: http://www.dmh.go.th/report/suicide/stat_province.asp.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. รายงานอัตราการฆ่าตัวตาย ปี พ.ศ. 2540-2560.[อินเตอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อ 11 เมษายน 2562]. เข้าถึงได้จาก https://www.dmh.go.th/report/suicide/stat_prov.asp
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขื่องใน. สรุปผลการดำเนินงานสาธารณสุขอำเภอเขื่องใน ประจำปีงบประมาณ 2561. จังหวัดอุบลราชธานี: งานพัฒนายุทธศาสตร์และพัฒนาเทคโนโลยี สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเขื่องใน;2561.
อนุพงศ์ คำมา. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการฆ่าตัวตายสำเร็จ: กรณีศึกษาจังหวัดสุโขทัย.วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย.2556;58(1):3-16.
วราภรณ์ ประทีปธีรานันต์. อัตราการฆ่าตัวตายและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมฆ่าตัวตายโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต.2557;28(3):90-103.
กาญจนา บุญยัง.การฆ่าตัวตายของชาวนาในสังคมไทย:กรณีวิเคราะห์จากข่าวหนังสือพิมพ์.วารสารการบริหารท้องถิ่น.2559;9(1):1.
Lotrakul M. Suicide in Thailand between 1998 and 2002. J psychiatr assoc Thailand. 2003;11(4): 251-59.
Corbin J. Strauss a.basics of qualitative research: Techniques and procedures for developing grounded theory.3rd ed. Thausand Oaks:Sage Publication;2008.
Chirawatkul S. Qualitative research in health science. Bangkok:Vittayapat;2009.
Oumtance A. Qualitative research in nursing. 2nd ed. Bangkok:Printing of Chulalongkorn University;2010.
Chirawatkul S. Qualitative study in nursing. Bangkok:Vittayapat;2012.
Patton MO. Qualitative research and evaluation methods. 2nd ed. California:Sage Publications;2002.
นุษณี เอี่ยมสะอาด และปพิชญา ทวีเศษ. การศึกษาระบาดวิทยาการฆ่าตัวตายของโรงพยาบาลพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี.2563;16(3):26.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานีและบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว