ปัจจัยที่มีผลต่อการให้คำแนะนำของคนในครอบครัวผู้เสพยาสูบกลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปี
คำสำคัญ:
การให้คำแนะนำ, ครอบครัว, ผู้เสพยาสูบกลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปีบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการให้คำแนะนำของคนในครอบครัวที่มีต่อผู้เสพยาสูบกลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปี ใช้ระเบียบวิธีการวิจัย 2 วิธี เชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลคนในครอบครัวที่มีผู้เสพยาสูบกลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปี ที่อาศัยกรุงเทพมหานครฝั่งพระนคร 184 ราย วิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนาและเทคนิควิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก
ผลการศึกษาพบว่า คนในครอบครัวของผู้เสพยาสูบกลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 51 – 60 ปี สำเร็จศึกษาระดับปริญญาตรี อยู่ร่วมกับคู่ครอง มีความสนิทสนมกับผู้เสพระดับปานกลาง ซึ่งพบว่าผู้ให้คำแนะนำส่วนใหญ่ไม่เคยเสพยาสูบ มีทักษะการสื่อสารปานกลาง และมักไม่ประสบความสำเร็จในการให้คำแนะนำ กลุ่มผู้เสพยาสูบกลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปี ที่เป็นสมาชิกครอบครัว และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการให้คำแนะนำหรือพยากรณ์การให้คำแนะนำอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ เพศ ความสนิมสนมกับผู้เสพยาสูบ กลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปี ความรู้เบื้องต้นของผู้แนะนำ และทักษะการสื่อสารของผู้แนะนำ
References
WHO. 2009. Global health risks: Mortality and burden of disease attributable to selected major risks, [online]. Available from http://www.who.int/healthinfo/global_burden/GlobalHealthrisks_report_full.pdf [2018 Jan 18]
Campos TS, Richter KP, Cupertino AP, Galil AGS, Banhato EF, Colugnati FA, et al. 2014. Cigarette smoking among patients with chronic diseases. Int J Cardiol. 174(3): 808-10.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. 2556. สรุปผลที่สำคัญการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2555. กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์แอนด์เจอร์นัลพับลิเคชั่น.
ศิวัช ฐิตมงคล, สุทธิพร บู่ทอง. 2559. ความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของเด็กมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตสุขภาพที่ 6, [ออนไลน์]. ค้นจาก http://223.27.246.196/aca/attachments/article/59/tobacco.pdf
Hammond R, Rowell A. 2001. Trust us we’re the tobacco industry, campaign for tobacco free kids, [online]. Available from: http://www.tobaccofreekids.org/campaignn/global/framework/.../TrustUs.pdf
Can G, Topbas M, Oztuna F, Ozgun S, Can E, Yavuzyilmaz A. 2009. Factors contributing to regular smoking in adolescent in Turkey. Int. J. School. Health. 79(3): 93-7.
ฉันทนา แรงสิงห์. 2556. การดูแลวัยรุ่นที่สูบบุหรี่: บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล.วารสารพยาบาลทหารบก. 14(2): 17-24.
Lasser K, Boyd JW, Woolhandler S, Himmelstein DU, McCormick D, Bor DH. 2000. Smoking & mental illness: A population-based prevalence study. JAMA. 284(20): 2606-10.
Smith DK, Miller DE, Prasad S. 2017. PURLs: “Cold turkey” works best for smoking cessation. The Journal of Family Practice. 66(3), 174–76
Lee CW, Kahende J. 2007. Factors associated with successful smoking cessation in The United States, 2000. Am. J. Public Health. 97(8): 1503-9.
ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร. 2557. รูปแบบการบริหารกรุงเทพมหานคร, [ออนไลน์]. ค้นจาก http://203.155.220.230/m.info/bma_k/knw5.html [20 ม.ค. 2561]
Palinkas LA, Horwitz SM, Green CA, Wisdom JP, Duan N, Hoagwood K. 2015. Purposeful sampling for qualitative data collection and analysis in mixed method implementation research. Adm Policy Ment Health. 42(5): 533–44.
Cochran WG. 1977. Sampling techniques, [online]. Available from https://archive.org/stream/Cochran1977SamplingTechniques_201703/Cochran_1977_Sampling%20Techniques#page/n0/mode/2up [2018 May 3]
Resch J, Driscoll A, McCaffrey N, Brown C, Ferrara MS, Macciocchi S. 2013. Impact test-retest reliability: Reliably unreliable?.J Athl Train. 48(4): 506-11.
Lafave L, Tyminski S, Riege T, Hoy D, Dexter B. 2015. Content validity for a child care self-assessment tool: Creatinhealthy eating environments scale. Can J Diet Pract Res. 77(2): 89-92.
Muste D. 2016 . The role of communication skills in teaching process. EpSBS, [online]. Available from http://www.futureacademy.org.uk/files/images/upload/ERD2016FA052F.pdf [2018 Jan 19]
Department of medical humanities, School of medicine University of Split. 2016. How to teach communication skills in medicine, [online]. Available from http://neuron.mefst.hr/docs/katedre/med_humanistika/Medicina/MHI/Eng/Communication20skills.pdf [2018 Jan 21]
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานีและบุคลากรท่านอื่นๆในสำนักงานฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว